Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่10การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน ในระยะหลังคลอด …
บทที่10การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
ในระยะหลังคลอด
ภาวะขาดออกซิเจน(Birth Asphyxia)
ภาวะหายใจลำบาก : มีการหดรั้งของ
กล้ามเนื้อหน้าอก มีเสียงครางขณะหายใจออก (grunting) ปีกจมูกบาน ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซียม แมกนีเซียม ในเลือดต่ำ ร่างกายมีภาวะกรดจากการเผาผลาญ สมองถูกทำลาย
การวินิจฉัย
การซักประวัติการตรวจร่างกาย ประเมินคะแนน APGAR อาการ/อาการแสดงการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจพบการเปลี่ยนแปลงของ T waveภาพถ่ายรังสีหัวใจและปอดมีฝ้าขาว
เลือดคั่งที่ปอด หัวใจโตค่า O2 ในเลือดต่ำ CO2 สูง, Ca/Mg ต่ำพบโปรตีน เม็ดเลือดแดง และ casts ในปัสสาวะNa ในเลือดต่ำ (ต่ำกว่า 130 mEq/L)Creatinine สูง (มากกว่า 1 มก./เดซิลิตร)
BUN สูง (มากกว่า 20 มก./เดซิลิตร)
,
อุบัติการณ์
พบมากในทารกเกิดก่อนกำหนด เกินกำหนด ทารกแฝด มารดาเป็นเบาหวาน มารดามี BP สูง/ต่ำ มารดาหรือทารกมีภาวะโลหิตจาง ทารกท่าก้น สายสะดือพลัดต่ำ/สายสะดือถูกกดระหว่างคลอด
สาเหตุด้านทารก
ทารกในครรภ์มีภาวะโลหิตจาง - ร่างกายขาด O2 ชั่วคราว พบได้ในระยะคลอด- เสียเลือด : เป็นโรคเลือด- เป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด
ปอดของทารกไม่ขยายตัวหลังเกิด : ทางเดินหายใจอุดตัน/มีการสูดสำลักขี้เทา
ส่วนนำทารกอยู่ในท่าผิดปกติในระยะคลอด คลอดยาก
ภาวะขาดออกซิเจน(Birth Asphyxia)
ภาวะความไม่สมดุลของการแลกเปลี่ยนแก๊สหายใจ โดยมีการเกิดร่วมกันของ 3 ภาวะคือ
เลือดขาดออกซิเจน (hypoxia)
CO2 เพิ่มสูงขึ้น (hypercapnia)
ภาวะเป็นกรด (tissue acidosis)
ข้อบ่งชี้ : ใช้ APGAR SCORE
1 นาที หลังเกิด = หรือ ต่ำกว่า 6,7
asphyxia เล็กน้อย
5 นาที หลังเกิด = 0 – 3 asphyxiaถึงระดับสมองขาดเลือดไปเลี้ยง (ischemic
Encephalopathy)
เมื่อภาวะ O2 ในเลือดต่ำ
ร่างกายทารกจะกระจายเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายเพื่อให้หัวใจ สมอง ต่อมหมวกไต ได้รับ O2 เพียงพอ
ปริมาณของเลือดที่ไปสู่ปอด ลำไส้ ตับ ไต ม้าม กระดูก กล้ามเนื้อ ผิวหนัง ลดลง
ทำให้มีปฏิกิริยาการเผาผลาญโดยไม่ใช้ออกซิเจนเกิดขึ้น ร่างกายมีภาวะการเผาผลาญเป็นกรด ทุกระบบของร่างกายถูกทำลายอย่างรุนแรง
ถ้า asphyxia นานเกิน 5 นาที ขาด O2 และเลือดมาเลี้ยง เสียชีวิต
พยาธิสรีรภาพต่อระบบและอวัยวะต่างๆ
ระบบหายใจทำให้ศูนย์ควบคุมการหายใจถูกกด ทารกหายใจช้า/หยุดหายใจมีน้ำในปอด หายใจเร็วชั่วคราว การแลกเปลี่ยนแก๊สไม่เพียงพอ/ปอดบวมน้ำเลือดเป็นกรด หลอดเลือดแดงที่ปอดบีบตัว ความดันโลหิตในปอดสูง
หัวใจและหลอดเลือดทำให้ศูนย์ควบคุมการทำงานของหัวใจถูกกด หัวใจเต้นช้าลง กล้ามเนื้อหัวใจได้รับ O2 ไม่เพียงพอ cardiogenic shock หัวใจถูกทำลาย มีการตายเฉพาะส่วน ลิ้นหัวใจปิดไม่สนิท
ระบบทางเดินปัสสาวะทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตต่ำ ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด ลิ่มในหลอดเลือดดำของไต กระเพาะปัสสาวะเป็นอัมพาตชั่วคราว มีการหลั่ง ADH ไม่เหมาะสม
ระบบโลหิต - เลือดขาด O2 เลือดเป็นกรด BP ต่ำทำให้ผนังหลอดเลือดเสียหาย ไขกระดูกไม่ สามารถผลิตเกล็ดเลือด ตับไม่สามารถสร้าง
ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดลิ่มเลือด
แพร่กระจายในหลอดเลือดมีเลือด
ออกจากอวัยวะต่างๆ
ระบบทางเดินอาหาร - เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆลดลงเพื่อให้เลือดไปเลี้ยงสมองมากขึ้น ลำไส้ขาดเลือด/เน่าตาย(necrotizing enterocolitis = NEC) - ภาวะตัวเหลือง : ตับไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ อาจมีอาเจียนเป็นเลือด
ระบบการเผาผลาน- ร่างกายมีภาวะกรดจากการเผาผลาญ ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ/สูง แคลเซียม/แมกนีเซียม ในเลือดต่ำ ฟอสเฟตในเลือดสูง
สมองเกิดพยาธิสภาพที่สมอง hypoxic-ischemic encephalopathy (HIE) ทารกตาย/สมองพิการ
การพยากรณ์โรค
ภาวะ asphyxia เป็นภาวะที่เกิดขึ้นทันทีทันใด บางครั้งอาจรุนแรงทำให้ทารกเสียชีวิตได้ภายใน 10 นาที หลังเกิด- ถ้ารุนแรงปานกลาง หาย/รุนแรงได้
ถ้าคะแนน APGAR = 0-3 เสี่ยงต่อการเสีย
ชีวิตสูง
อาการและอาการแสดง
ที่พบทันทีแรกเกิด : ตัวอ่อนปวกเปียก (limb) เขียว (cyanotic) หัวใจเต้นช้า หยุดหายใจ (apnea) กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ไม่มีปฏิกิริยาสะท้อนกลับ ไม่มีการ
เคลื่อนไหวตามปกติหัวใจเต้นเร็ว หายใจไม่สม่ำเสมอ ตรวจพบความผิดปกติที่ปอดส่วนล่าง ตับโต เสียงหัวใจผิดปกติ ตัวเย็น (hypothermia) มีการติดเชื้อ น้ำตาลในเลือดต่ำหรือสูงชั่วคราว BP อาจมีอาการปวดท้อง ท้องอืด ถ่ายอุจจาระจากภาวะ NEC
ทารกที่มี asphyxia ตั้งแต่อยู่ในครรภ์
เกิดผลกระทบต่อไตอย่างเฉียบพลัน การกรองของไตขึ้นอยู่กับความรุนแรงของ asphyxia และปริมาณเลือดที่มาเลี้ยงไต
ทารกที่ไม่ต้องกระตุ้นการหายใจ
ต้องดูแล/สังเกตอาการเป็นพิเศษ รักษาแบบประคับประคอง
ประเมินการหายใจอย่างต่อเนื่อง อาจต้องให้ O2 และช่วยหายใจ
การรักษา
การรักษาอุณหภูมิร่างกายทารกให้อบอุ่นคงที่
ถ้ามีอาการรุนแรงต้องช่วยหายใจ ใช้
เครื่องช่วยหายใจ/ยา
ให้ O2 bag/mask
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ทารกที่มีภาวะรุนแรง
ระบบประสาทส่วนกลางถูกทำลาย ชัก ดูดนมได้ไม่ดี จะชักอย่างต่อเนื่องจนถึง 8-10 วัน
อาการชักจะปรากฏใน 24 ชม.แรก ชักแบบสั่นทั้งตัว/ดูดปาก ตากระพริบ ยาระงับชัก สังเกตอาการกลับเป็นซ้ำ
ทารกที่มีอาการทางระบบทางเดินปัสสาวะ
จำกัดน้ำ
ทารกที่มีอาการทางระบบทางเดินอาหาร
งดอาหารทางปากอย่างน้อย 1 สป. + ควบคุมระดับน้ำตาล แคลเซียม แมกนีเซียม
นางสาวจิราภณ์ พุทธจักร รหัส621001401466 เลขทที่1