Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนทัศน์พื้นฐานทางการพยาบาล
หมายถึง ความรู้ความคิด ความเช่ือในส่ิงที่เป็นพื้นฐานของการพยาบาล
ประกอบด้วยความรู้พื้นฐานในมโนมติของ คน สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และการพยาบาล
มโนมติของคน(Man)
1.คน ประกอบด้วย
กายหรือร่างกาย
จิตหรือจิตใจ กระกอบด้วย3ส่วนย่อย
อารมณ์และความรู้สึก
จิตวิญญาณ(Spirit)
สติปัญญา หรือความคิด
สังคม
คือ ส่วนของคนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นๆ รอบตัว
คนเป็นระบบเปิด
ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา การรับและการให้เกิดขขึ้นได้ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยมีความสัมพันธ์กัน
คนมีความต้องการพื้นฐาน
บุคคลจะมีความต้องการทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม ตามทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์
4 . คนมีการพัฒนา
เกิดจนถึงวันชรา การพัฒนาการของคนอาจแบ่งออกได้เป็น ด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์ สังคม ด้านวัฒนธรรม
คนมีความต้องการภาวะสมดุล หรือภาวะปกติ
ความต้องการภาวะภาวะสมดุล ความต้องการปรับสู่สภาวะปกติ กลไกการปรับสู่ภาวะสมดุล อาจจะเป็นทั้งระบบอัตโนมัติหรือรู้ตัว
6.คนมีบุกษณะพื้นฐานร่วมกันแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
คือ คนแต่ละคนก็มีลักษณะเฉพาะของตนเอง
คนมีสิทธิของตน
แต่ละบุคคล ไม่ว่าในภาวะที่เป็นเด็ก / ผู้ใหญ่ ในบทบาท/ตำแหน่งใดก็ตามจะมีสิทธิแห่งตนตามภาวะที่ดำรงอยู่
คนมีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
คนทุกคนมีความสามารถที่จะช่วยเหลือตนเองในด้านต่าง เช่น การแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
มโนมติของสิ่งแวดล้อม (Environment )
ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ
หมายถึง ส่ิงแวดล้อมภายนอกที่ไม่มีชีวิต เช่น ความร้อน แสง อากาศ เป็นต้น
ส่ิงแวดล้อมทางชีวภาพ ได้แก่
ส่ิงมีชีวิตต่างๆทั้งพืช และสัตว์ ที่มีขนาดเล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นจนถึงพืชและสัตว์ที่มีขนาดใหญ่โตกว่าคน
ส่ิงแวดล้อมทางเคมี ได้แก่
สารเคมีทุกชนิด รวมทั้ง อาหาร ยา ซึ่งอาจมาจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
ส่ิงแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
ประกอบด้วย ส่ิงที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
ส่ิงแวดล้อมทางสังคมที่เป็นรูปธรรมที่สำคัญคือ บุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มีบทบาทหน้าที่ต่อกัน
หน่วยของสังคมที่สำคัญที่สุด คือ ครอบครัว
มโนมติของสุขภาพ (Health)
สุขภาพมีลักษณะเป็นนามธรรม เป็นภาวะที่เปิดขึ้นกับบุคคลตั้งแต่
แรกเกิดจนถึงวัยชรา
สุขภาพ (Health)
ไนติงเกล (Nightingale, 1860) หมายถึงสภาวะที่ปราศจากโรค และสามารถใช้พละกำลังของตนเองได้เต็มความสามารถ
องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947)
หมายถึง สภาวะที่มีความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขมิใช่เพียงแต่ปราศจากโรค และความพิกาารเท่านั้น
สุขภาพดี หมายถงึ สภาวะที่ร่างกายมีความสมบรูณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ปราศจากโรคและความพิการใดๆ
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ ในมาตราท่ี 3
หมายความว่า สุขภาวะที่สมบูรณ์และเชื่อมโยงกัน เป็นองคนรวมมอย่างสมดุลทั้งทางกายทางจิต ทางสังคม
และทางจิตวิญญาณ สุขภาพมิได้หมายถึง เฉพาะความ ไม่พิการ และการไม่มีโรคเท่านั้น
สุขภาพมีลักษณะเป็นพลวัตรและต่อเนื่อง
สุขภาพของคนจะประกอบด้วย 2 ภาวะ คือ
ภาวะสุขภาพดี (Wellness)
เจ็บป่วย(Illness)
หมายถึง สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกติทางด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
เป็นภาวะที่บุคคลรู้สึกว่ามีสุขภาพไม่ดี
ความเจ็บป่วยอาจไม่เกี่ยวข้องกับการเป็นโรคก็ได้
มโนมติของการพยาบาล (Nursing)
การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
เพื่อให้คนสามารถดกรงภาวะสุขภาพไว้/ช่วยให้คนกลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็ป่วย
คำว่ารักทรงการพยาบาล คือ กิจกรรมที่พยาบาลปฏิบัติในขอบเขตหน้าที่ของตน ในการช่วยเหลือด้านพฤติกรรมของบุคคลที่เปลี่ยนไปจากเดิม อันเนื่องมาจากผลกระทบจากปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น
การพยาบาลที่จะช่วยเหลือให้คนนมีภาวะสุขภาพดี หรือปรับสู่ภาวะสุขภาพดี ประกอบด้วย
การส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนใหญ่เป็นการช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การป้องกันโรค
การช่วยเหลือให้คนนไม่เจ็บป่วยด้วยโรคหรือความเจ็บ ป่วยท่ีป้องกันได้
การป้องกันโรคแบ่งออกเป็น3ระดับ
การป้องกันระดับท่ี 1 (primary prevention)
การกระทำที่เป็นการป้องกันโรคบางโรคเป็นการเฉพาะ เพื่อป้องกันความไม่สุขสบาย เสียเงินทองจากค่าใช้จ่ายในการรักษา
การป้องกันระดับท่ี 2 (secondary prevention)
ประกอบด้วยองคุกรที่ทำหน้าที่คัดกรอง หรือให้ความรู้แก่
ประชาชน ส่งเสริมการตรวจพบผู้ป่วยตั้งแต่ โรคยังไม่ปรากฏอาการ เพื่อให้สามารถให้การรักษาได้ทันท่วงที
การป้องกันระดับท่ี 3 (tertiary prevention)
สอนให้รู้จักการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก
การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
กระบวนการพยาบาลจะสิ้นสุดก็ต่อเมื่อความต้องการของ ผู้รับบริการได้รับการตอบสนองหรือปัญหาไดัรับ การแก้ไข/ปัจจัยเสี่ยงได้รับการจัดการให้หมดสิ้นไป
การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
ถ้าขาดการพยาบาลที่มีคุณภาพ อาจส่งผลให้คนไม่สามารถดำรงภาวะสุขภาพดีไว้ได้
ทฤษฎีทางการพยาบาล ( Nursing Theory )
หมายถึง แก่นสาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาล ซึ่งมุ่งอธิบายธรรมชาติของคนสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพล ต่อบุคคล ภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วยของบุคคล โดยมีเป้าหมายของการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล (Fitzpatrick & Whall , 1989 )
กระบวนทัศน์ ( Paradigm ) หมายถงึ กรอบการมองหรือกรอบเค้าโครงแนวคิด หรือแบบอุดมคติ หรือปรัชญาเป็นที่ยอมรับในกล่มวิชาชีพชีพซึ่งจะให้ข้อตกลงเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติ วิจัย และสร้างความเข้าใจในศาสตร์น้ันเป็นแนวเดียวกัน
METAPARADIGM หมายถงึ กรอบขอบเขตหรือโครงสร้างทางความคิดหรือมโนมติในภาพรวม กวา้งๆของศาสตรูสาขาต่างๆ ซึ่งจะประกอบด้วยมโนทัศน์ของศาสตร์สาขานั้นๆรวมทั้งมีการกำหนดลัษณะความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์เหล่านั้นด้วย
กรอบแนวคิด
(Conceptual fraMework / Model ) หมายถงึ กลุ่มของมโนทัศน์ที่สัมพันธ์กันเป็นภาพรวมของปรากฏการณ์ หรือความจริงท่ีช่วยให้เห็นจุดเน้นของความคิด
โครงสร้างความสัมพันธ์
Metaparadigm
คน
สุขภาพ
สิ่งแวดล้อม
การพยาบาล
แบบจําลองมโนทัศน์/ทฤษฎีการพยาบาลระดับกว้าง
ทฤษฎีของโอเรม
ทฤษฎีของรอย
ทฤษฎีของวัตสัน
ทฤษฎีของนิวแมน
การจําแนกทฤษฎีตามลักษณะการนําไปใช้
ทฤษฎีเชิงนิรนัย (Deductive nursing theories) เป็นการพัฒนาทฤษฎีจากการนําศาสตร์ต่างๆมาสังเคราะห์ จัดระบบหรือขยายมโนมติให้เกิดเป็นมโนมติใหม่
ทฤษฎีกาชิงอุปนัย(Inductive nursing theories)เป็นการพัฒนาทฤษฎีที่เกิดจากการปฏิบัติการพยาบาลมาประมวลเพื่อสรุปเป็นทฤษฎี
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
1 ทฤษฎีอภิฤษฎี (Meta – theory) มีเป้าหมายที่กระบวน การสร้างทฤษฎีจะมีจุดเน้นที่การตั้งคำถามเชิงปรัชญา
วิธีการสร้างและกระบวนการการวิเคราะห์วิพากษ์และหลักเกณฑ์ในการประเมินทฤษฎี มีความเป็นนามธรรมสูง
2 ทฤษฎรีะดบักว้าง(Grandtheory)กำหนดกรอบแนวคิดหรือแบบจำลองมโนมติที่ครอบคลุมเนื้อหาสาระที่กว้าง นําไปทดสอบโดยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ได้ยาก เนื่องจากมความเป็นนามธรรมสูง แต่สามารถนําไปเป็นแนวทางการปฏิบัติและเป็นแนวทางในการสร้างองค์ความรู้ในระดับรองลงมาได้ดี
3 ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Rang theory) มีขอบเขตเนื้อหาสาระแคบลงและมีจำนวนมโนทัศน์น้อยกว่าทฤษฎีระดับกว้าง เกิดจากการศึกษาวิจัยสามารถ นําไปใช้อ้างอิง และขยายต่อได้ ทดสอบได้นําไปเป็นหลักในการปฏิบัติชัดเจนขึ้น เช่น ทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
4 ทฤษฎีระดับปฏิบัติ (Practice theory) มีความซับซ้อนน้อยที่สุดเป็นชุดข้อความ เชิงทฤษฎีที่เกิดจากการทดสอบสมมติดานในปรากฎการณ์ใดปรากฎการณ์หนึ่งมี เนื้อหาสาระและจำนวนมโนมติไม่มาก สามารถทดสอบได้ง่าย และนําไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลได้โดยตรงและคาดผลที่จะเกิดจากการปฏิบัติได้
พัฒนาการของทฤษฎีทางการพยาบาล
ระยะก่อนปี ค.ศ. 1960
พัฒนาพื้นฐานของทฤษฎีจากแนวคิดจิตวิทยาสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์
-ค.ศ. 1952 มีการทำวิจัยทางการพยาบาล และมีวารสารวิจัยการพยาบาลเกิดขึ้น
ระยะปี ค.ศ. 1960-1970
-ค.ศ.1960 Faye Abdullah พัฒนากลุ่มปัญหาทางการพยาบาล21ปัญหา ( กายภาพ + ชีวภาพ + จิตสังคม )
ระยะปี ค.ศ. 1971-1980
-ค.ศ.1971 Dorothea E. Orem สร้างทฤษฎีชื่อ Self - care Theory
-ค.ศ.1974 Sister Callista Roy สร้างทฤษฎีชื่อ Roy’s Adaptation model
-ค.ศ.1978 Madeleine Leininger สร้างทฤษฎีชื่อ Transcultural nursing Theory
-ค.ศ.1978 Jean Watson สร้างทฤษฎี Transpersonal Caring
-ค.ศ.1980 Betty Neuman สร้างทฤษฎีชื่อ System Model
ระยะปี ค.ศ. 1981 – ปัจจุบัน
-ระยะแรก เน้นที่การนําเอาทฤษฎีต่างๆที่ถูกสร้างขึ้นมาแล้วมาทดลองปฏิบัติติ/พิสูจน์ ข้อเท็จจริงตามข้อสมมุติฐาน
-ระยะหลัง เน้นพัฒนาทฤษฎีขึ้นมาใหม่ พัฒนาระบบสารสนเทศทางการพยาบาลเพื่อเผยแพร่ความรู้