Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการหลักสูตรที่ใช้ในประเทศไทย - Coggle Diagram
พัฒนาการหลักสูตรที่ใช้ในประเทศไทย
หลังประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 (2544-ปัจจุบัน)
1.การพัฒนาหลักสูตร พ.ศ. 2544
แบ่งเป็น 4 ช่วงชั้นมี 8 กลุ่มสาระ
ทักษะสำคัญ
เน้นพุทธิพิสัยจิตพิสัยและทักษะพิสัย
ค่านิยม
มีจุดเน้นเชิงพฤติกรรมและเจตคติในแต่ละช่วงชั้นและแต่ละรายวิชา
วิธีการ
ค้นคว้าหาความรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีการใช้กิจกรรมและนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจและกิจกรรม
ระบบจัดการศึกษา 6:3:3
2.การพัฒนาหลักสูตร พ.ศ.2551
จุดเน้น
หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
จุดเน้นของหลักสูตร หลักสูตรแกนกลาง บูรณาการรายวิชา เน้น
ผู้เรียนเป็นสําคัญ และหลักสูตรสถานศึกษา
ค่านิยมและเจตคติ
๑) รักชาติศาสน์กษัตริย์
๒) ซื่อสัตย์สุจริต
๓) มีวินัย
๔) ใฝ่เรียนรู้
๕) อยู่อย่างพอเพียง
๖) มุ่งมั่นในการทํางาน
๗) รักความเป็นไทย
๘) มีจิตสาธารณะ
วิธีการเรียนรู้
ค้นคว้าหาความรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ มีการใช้กิจกรรม นวัตกรรม สื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
การประเมินผลโดยตัวชี้วัดชั้นปีและช่วงชั้น ด้านความรู้ความเข้าใจ
ทักษะสําคัญ
๑) ความสามารถในการสื่อสาร
๒) ความ สามารถในการคิด
๓) ความสามารถในการแก้ไขปัญหา
๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สาระการเรียนรู้
8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
3.การพัฒนาหลักสูตร พ.ศ.2556
จุดเน้น
ปรับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2556 ข้อ 17 ให้สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาจัดให้มีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรที่อยู่ในความรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยทุก 5 ปี เพื่อให้มีเนื้อหาที่ทันสมัย
ปรับ รายละเอียดและวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ จาก พ.ศ.2551 เสริมหลักพระพุทธศาสนา
แนวคิดในการปฏิรูปหลักสูตร
พ.ศ. 2556
การปฏิรูปการเรียนการสอน - ศธ.ได้มีการรวบรวมองค์ความรู้ที่เป็น Best Practices ทั้งจากในประเทศและต่างประเทศ มีการนำมาจัดทำ
เป็นนิทรรศการเผยแพร่ รวมทั้งมีการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ ผู้เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง
เป็นสมัยของนายจาตุรนต์ ฉายแสง พ.ส.2556-2557
นำไปสู่ เหตุการณ์ที่ กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศเรื่อง
การจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2558
ก่อนประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542(พ.ศ. 2503-2543)
การพัฒนาหลักสูตร พ.ศ.2521
มัธยมศึกษามีสาระ 5 กลุ่มวิชา
ทักษะการเรียนรู้
เน้นพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย
ประถมศึกษา มีสาระ 4 กลุ่มวิชา
ค่านิยม
มีจุดเน้นเชิงพฤติกรรมและเจตคติในแต่ละวิชา
ระบบการศึกษา 6:3:3
วิธีการเรียนรู้
ครูและนักเรียนเป็นศูนย์กลางมีการใช้กิจกรรมและนวัตกรรมการประเมินเป็นการประเมินด้านความรู้ความเข้าใจและกิจกรรม
จุดเน้นของหลักสูตร
หลักสูตรประถมศึกษามัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย
1.การพัฒนาหลักสูตร พ.ศ. 2503
ประถมศึกษา มีสาระ ๕ หมวดวิชา
มัธยมศึกษา มี ๒ สาย คือ สายสามัญและสายอาชีพ
ทักษะการเรียนรู้
เน้นพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย
ระบบจัดการศึกษา ๔ - ๓ - ๓ - ๓
ค่านิยมและเจตนคติ
มีจุดเน้นเชิงพฤติกรรมและเจตคติ
ในแต่ละหมวดวิชา
ถ่ายทอดความรู้โดยใช้ครูเป็นหลัก
และการใช้กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ การปประเมินภาคความรู้และภาคปฏิบัติ
จุดเน้นของหลักสูตร
หลักสูตรประโยคประถมต้นและปลายมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย
การพัฒนาหลักสูตร พ.ศ. 2521 (ปรับปรุง 2533)
ทักษะการเรียนรู้
เน้นพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย
ระบบ ๖-๓-๓
ค่านิยม
มีจุดเน้นเชิงพฤติกรรมและเจตคติในแต่ละวิชา
วิธีการเรียนรู้
ครูและนักเรียนเป็นศูนย์กลางมีการใช้กิจกรรมและนวัตกรรมการประเมินเป็นการประเมินด้านความรู้ความเข้าใจและกิจกรรม
ประถมมีสาระ 4 กลุ่มวิชา
จุดเน้นของหลักสูตร
หลักสูตรประถมศึกษามัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย
มัธยมศึกษาสาระแบ่งออกเป็น 3 ส่วน