Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7 กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่7 กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนทัศน์พื้นฐานทางการพยาบาล
หมายถึง ความรู้ ความคิด ความชื่อ ในสิ่งที่เป็นพื้นฐานของการพยาบาล
ประกอบด้วย
มโนมติของคน (Man)
1.คน
1.1 กายหรือร่างกาย ประกอบด้วยส่วนโครงสร้าง และหน้าที่การทำงานของร่างกายของบุคคล
1.2 จิตหรือจิตใจ
จิตวิญญาณ
สติปัญญาหรือความคิด
อารมณ์และความรู้ศึก
1.3 สังคม
คนจะเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นด้วยบทบาทหน้าที่ จะปฏิบัติต่อบุคคลอื่นอย่างไรขึ้นกับตำแหน่งที่ตนดำรงอยู่ขณะนั้น
สัมพันธภาพแต่ละบุคคล
คือส่วนของคนที่เกี่ยวข้องกับคนอื่นๆรอบตัว
บทบาทสัมพันธภาพมีส่วนสัมพันธ์กัน
คนเป็นระบบเปิด
มีการรับ/ให้และตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม
คนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา
บางครั้งอาจมีเฉพาะการให้โดยไม่มีการรับ
การรับ/ให้เกิดได้ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคมโดยมีความสัมพันธ์กัน
บางครั้งการให้หรือรับอาจไม่ได้เกิดต่อเนื่องทันที
3.คนมีความต้องการพื้นฐาน
แต่ละบุคคลจะมีความต้องการทางด้านร่างกาย จิตใจและสังคม
แบ่งออกได้5ระดับตามทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์
ความต้องการความรัก ความผูกพัน (Affiliation)
ความต้องการความภาคภูมิใจและศักดิ์ศรี (Self esteem)
ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย (Safety Needs)
ความต้องการความพอใจในตนเอง (Self actualization)
ความต้องการพื้นฐานทางด้านร่างกาย (Physiological Needs)
คนมีพัฒนาการ
เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพหรือคุณลักษณะของบุคคลในด้านด่างๆ
แบ่งออกได้เป็น
ด้านสติปัญญา
ด้านอารมณ์ สังคม
ด้านร่างกาย
ด้านคุณธรรม
พัฒนาการด้านต่างๆในแต่ละวัยจะมีความผสมผสานและอาจมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
พัฒนาต่อเนื่องตั้งแต่เกิดจนชรา
แต่ละด้านจะต่อเนื่องกันเป็นลำดับขั้นและมีลักษณะเฉพาะ
มีความต้องการภาวะสมดุลหรือภาวะปกติ
คนต้องการอยู่ในภาวะสมดุลอยู่ตลอดเวลา
เมื่อเสียสมดุลก็พยายามปรับสู่สมดุล
เรียกว่าการปรับตัวหรือกลไกการต่อสู้เพื่อสมดุล
5.2 ความต้องการปรับสู่ภาวะสมดุล
5.1 ความต้องการดำรงภาวะสมดุล
คนมีลักลักษณะพื้นฐานแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
แต่ละคนมีลักษณะเฉพาะของตนเองเรียกว่า ปัจเจกบุคคล
ปัจจัยที่ทำให้แต่ละคนมีปัจเจกบุคคลคือพันธุกรรม การพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตสังคม และประสบการณ์
7.คนมีสิทธิของตน
คนแต่ละคนจะมีสิทธิแห่งตนตามภาวะที่ดำรงอยู่
เช่น
สิทธฺในการได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
สิทธิในการได้รับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
คนมีสักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
ทุกคนมีควาสามารถที่จะช่วยเหลือตนเองในด้านต่างๆ
เช่น
ช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน
การแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง
มโนมติของสิ่งแวดล้อม(Environment)
แบ่งได้4ประเภท
1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
หมายถึงสิ่งแวดล้อมภายนอกที่ไม่มีชีวิต เช่น แสง สี เสียง
สิ่งแวดล้อมเหล่านี้มีผลเบื้องต้นต่อร่างกายคน
2.สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
สิ่งมีชีวิตต่างๆทั้งพืชและสัตว์ที่มีขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่
ได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต พืช วัว ควาย
3.สิ่งแวดล้อมทงเคมี
สารเคมีทุกชนิด รวมทั้งอาหาร ยา
มาจากสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
4.สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
ที่เป็นรูปธรรมคือ บุคคลที่มีความสัมพันธ์กันและมีบทบาทหน้าที่ต่อกัน
คนในชุมชนเป็นสิ่งแวดล้อมของบุคคลอื่นในชุมชน
สิ่งแวดล้อมแต่ละชนิดมีประโยชน์และโทษแก่บุคคล
หน่วยของสังคมที่สำคัญที่สุดคือ ครอบครัว
นามธรรมไม่สามารถสัมผัสได้ เช่น ความเชื่อ ค่านิยม
บุคคลในครอบครัวเป็นสิ่งแวดล้อมซึ่งกันและกัน อาจเกิดผลดีหรือผลเสียต่อกัน
สิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
สังคมที่ใหญ่กว่าครอบครัวคือ ชุมชน ตั้งแต่หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ประเทศ
มโนมติของสุขภาพ(Health)
สุขภาพ(Health)
Nightingale 1860
หมายถึง สภาวะที่ปราศจากโรคและสามารถใช้พละกำลังของตนเองได้เต็มความสามารถ
WHO 1947
หมายถึง สภาวะร่างกายที่มีความสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ปราศจากโรคแลกความพิการใดๆ
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ ในมาตราที่3
หมายถึง สภาวะที่สมบูรณ์และเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวมอย่างสมดุลทั้งทางกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ
ความเจ็บป่วย (illness)
คือ สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกติทางด้านร่างกาย จิตใจ สัมคม จิตวิญญาณ
อาจมีสาเหตุเริ่มแรกจากความผิดปกติในด้านต่างๆ
ถ้าบุคคลนั้นพอใจในสุขภาพที่เป็นอยู่ และอยู่ได้อย่างมีความสุขก็ถือว่ามีสัขภาพดี
ทำให้ทำหน้าที่บกพร่อง
การบ่งชี้ถึงสภาวะการเจ็บป่วยและการมีสุขภาพดีบางครั้งไม่เด่นชัด ยกเว้นในรายที่เจ็บป่วยมากๆ
ในโลกนี้น้อยคนที่จะมีสุขภาพดีมาก
อาจเปลี่ยนแปลงด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้านรวมกัน
ความเจ็บป่วยอาจไม่เกี่ยวข้องกับการเป็นโรคก็ได้
ส่วนมากจะมีความบกพร่องทางสุขภาพบ้างไม่มากก็น้อย
เป็นภาวะที่บุคคลรู้สึกว่าสุขภาพไม่ดี
บุคคลที่เจ็บป่วยจะมีผลกระทบทางด้านอื่นๆ
มโนมติของการพยาบาล(Nursing)
4.การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
ถ้าขาดพยาบาลที่มีคุณภาพอาจส่งผลให้คนไม่สามารถดำรงสุขภาพที่ดีไว้ได้
จากบทบาทและวิธีการปฏิบัติของพยาบาลที่มีลักษณะเฉพาะ ทำให้พยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
3.การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
ประกอบด้วย
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การวินิจฉัยการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
การประเมินสภาพ
กระบวนการพยาบาลเป็นกระบวนการที่ป็นพลวัตรต่อเนื่องสัมพันธ์กันอยู่ตลอดเวลา
กระบวนการพยาบาลจะสิ้นสุดก็ต่อเมื่อได้รับการแก้ไข/ปัจจัยเสี่ยงได้รับการจัดการให้หมดสิ้นไปแล้ว
1.การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
ทุกวัยตั้งแต่แรกเกิดจนสูงอายุ
รักษาทางการพยาบาลคือ กิจกรรมที่พยาบาลปฏิบัติหน้าที่ของตน
เพื่อให้คนกลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย
ทุกสภาวะสุขภาพตั้งแต่สุขภาพดี ป่วยหนัก/วิกฤต
การช่วยเหลือของพยาบาลอาจช่วยเหลือเป็นรายบุคคล ครอบครัว หรือชุมชน
ลักษณะการช่วยเหลือของพยาบาล เป็นการวินิจฉัยและให้การรักษาปฏิกิริยาโต้ตอบที่มีต่อภาวะที่มีปัญหาสุขภาพ
2.การพยาบาลที่จะช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพดีหรือปรับสู่ภาวะสุขภาพดี
2.1การส่งเสริมสุขภาพ
การช่วยเหลือที่ช่วยให้คนมีสุขภาพดีกว่าที่เป็นอยู่
ส่วนใหญ่เป็นการช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2.4การฟื้นฟูสภาพร่างกาย
เป็นระยะที่กลับบ้านเพื่อไปดูแลตนเองต่อที่บ้าน ฟื้นฟูร่างกาย
พยาบาลต้องเข้าถึงจิตใจและรู้ปัญหาของผู้ป่วยอย่างถ่องแท้
ระยะที่ผู้ป่วยกำลังจะไปอยู่ในบทบาทของคนปกติ
ฟื้นฟูสภาพแก่ผู้ป่วย
เป็นผู้ให้กำลังใจ ให้ความหวัง ชื่นชมและยกย่องผู้ป่วย
ช่วยให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถช่วยตนเองให้ได้มากที่สุด
2.2การป้องกันโรค
การช่วยเหลือให้คนไม่เจ็บป่วยด้วยโรคหรือความเจ็บป่วยที่ป้องกันได้
เพื่อให้คนได้ดำรงความมีสุขภาพดีไว้ได้
แบ่งเป็น3ระดับ
การป้องกันระดับที่1
การกระทำที่ป้องกันโรคบางโรคโดยเฉพาะ
ป้องกันความไม่สุขสบาย ป้องกันการเสียเงินทอง
บุคคลที่สุขภาพดีจะเป็นผู้มีพฤติกรรมป้องกันระดับที่1
คนกลุ่มนี้อาจเสี่ยงอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างจึงจำเป็นต้องพิจารณาพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรค
การป้องกันระดับที่3
เริ่มเมื่อบุคคลป่วยเข้ามารับการรักษาที่ รพ.
พยาบาลให้การดูแลและเฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อน
สอนให้รู้จักป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก
การป้องกันระดับที่2
องค์กรที่ทำหน้าที่คัดกรองหรือให้ความรู้แก่ประชาชน
ส่งเสริมการตรวจพบผู้ป่วยตั้งแต่โรคยังไม่ปรากฏอาการเพื่อให้สามารถให้การรักษาได้ทันท่วงที
2.2การดูแลรักษา
ผู้ป่วยแต่ละคนจะมีความกลัววิตกกังวลแตกต่างกันออกไป
การปฏิบัติของพยาบาลจะเป็นไปตามแผนการรักษาของแพทย์เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นการบำบัด
การอธิบายข้อมูลให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจจะช่วยให้ได้รับการร่วมมือที่ดี
พยาบาลต้องรู้จักการใช้ศิลปะในการติดต่อสื่อสาร
บุคคลหนึ่งเป็นสถานภาพจากสุขภาพดีมาสู้ผู้ป่วย ตัดสินใจอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์และพยาบาล และปฏิบัติตามคำแนะนำ
ประเด็นสำคัญคือช่วยใหู้้ป่วยและผู้เกี่ยวข้องได้รับผลกระทบจากการเจ็บป่วยน้อยที่สุด
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนมติพื้นฐานของคน สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และการพยาบาล จะมีความสัมพันธ์กัน
บางครั้งระหว่างคนและสิ่งแวดล้อมคนก็อาจไม่สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุลได้
การพยาบาลมีความสัมพันธ์กับสุขภาพของคน
กลไกการปรับสมดุลคนอาจอยู่ในภาวะที่ปรับตัวได้
การพยาบาลมีความครอบคลุมในทุกภาวะสุขภาพของคน
มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือคนใ้สามารถดำรงภาวะสมดุลหรือดำรงสุขภพดีได้ และช่วยหลือคนที่เจ็บป่วยให้ปรับตัวสู่สภาวะสดุล
คน อยู่ในสิ่งแวดล้อม มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา
การช่วยเหลือคนจะช่วยโดยใช้บทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การดูแลักษาและการฟื้นฟูสภาพ
ควาสำคัญของมโนมติพื้นฐานทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการวิจัยทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการปฏิบัติการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการพัฒนศาสตร์ทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการจัดการศึกษาพยาบาล
มโนทัศน์และทฤษฏีทางการพยาบาล
ทฤษฎีทางการพยาบาล
แก่นสาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาล มุ่งเน้นอธิบายธรรมชาติของคน
กระบวนทัศน์
กรอบการมองหรือกรอบเค้าโครงแนวคิดหรือแบบอุดมคติ
Metaparadigm
กรอบ ขอบเขต โครงสร้างทางความคิดหรือมโนมติในภาพรวมกว้างๆของศาสตร์สาขาต่างๆ
กรอบแนวคิด
กลุ่มของมโนทัศน์ที่สัมพันธ์กันเป็นภาพรวมของปรากฏการณ์หรือความจริงที่ช่วยให้เห็นจุดเน้นของความคิด
ลักษณะพื้นฐานทางทฤษฎี
ให้สมมติฐานที่สามารถทดสอบได้
สามารถนำไปใช้ในการปรับปรุงแนวทางปฏิบัติได้
ควรจะง่ายแก่การสรุปอ้างอิงได้อย่างกว้างขวาง และครอบคลุม
ทฤษฎีที่น่าเชื่อถือจะต้องสอดคล้องกับทฤษฎีอื่นที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว
จะต้องแสดงลำดับของเหตุผลตามหลักตรรกวิทยา
สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศฯ์ที่เข้าใจปรากฏการณ์ที่เฉพาะได้
การจำแนกทฤษฎีตามลักษณะการนำไปใช้
ทฤษฎีเชิงอุปนัย
ทฤษฎีเชิงนิรนัย
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
2.ทฤษฎีระดับกว้าง
มีความเ็นนามธรรมสูง สาารถนำไปเป็นแนวทางการฏิบัติและแนวางในการสร้างองค์ความรู้ในระดับรองลงมาได้ดี
3.ทฤษฎีระดับกลาง
สามรถนำไปใช้อ้างอิงและขยายต่อได้ ทดสอบได้ นำไปเป็นหลักในการปฏิบัติชัดเจน เช่น ทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
1.ทฤษฎีอภิทฤษฎี
มีเป้าหมายที่กระบวนการสร้างทฤษฎี จะมีจุดเน้นที่การตั้งคำถาเชิงปรัชญา
4.ทฤษฎีระดับปฏิบัติ
มีความซับซ้อนน้อยที่สุด สามารถทดสอบได้ง่ายนำไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลได้
พัฒนาการของทฤษฎีทางการพยาบาล
ระยะก่อนปี ค.ศ.1960
พัฒนาพื้นฐานของทฤษฎีจากแนวคิดจิตวิทยา สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษย์ศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์
ค.ศ.1592 มีการทำวิจัยทางการพยาบาล
พัฒนาต่อนื่องจากงานเขียนของไนติงเกล
ค.ศ.1952 Interpersonal Relations in Nursing : Hildegard Peplau
ค.ศ.1955 Principles and Practice of Nursing : Virginia Henderson
ค.ศ.1950 Environmental Theory : Nightingale
4.ระยะปี ค.ศ.1981-ปัจจุบัน
ระยะแรก เน้นที่การนำเอาทฤษฎีต่างๆที่ถูกสร้างขึ้นมาแล้วมาทดลองปฏิบัติ/พิสูจน์ข้อเท็จจริงตามข้อสมมุติฐาน
ระยะหลัง เน้นพัฒนาทฤษฎีขึ้นมาใหม่ พัฒนาระบบสารสนเทศทางการพยาบาล เพื่อเผยแพร่ความรู้
2.ระยะปี ค.ศ. 1960-1970
ค.ศ.1968 Dickoff & James ทฤษฎีการพยาบาลต้องเป็นทฤษฎีในระดับสูงสุดคือ เป็นทฤษฎีในระดับสร้างสถานะการณ์(Situation – producing theory)
ค.ศ. 1970 Martha E. Rogers สร้างทฤษฎี Science of Unitary Human Being
ค.ศ. 1961 Jean Orlando สร้างทฤษฎีชื่อ Nursing Process Theory เน้นการปฏิบัติการพยาบาล
ค.ศ. 1960 Faye Abdellah พัฒนากลุ่มปัญหาทางการพยาบาล21ปัญหา
ค.ศ. 1964 Lindia Hall สร้างทฤษฎีชื่อ Core Care and Cure Theory
3.ระยะปี
ค.ศ.1971-1980
ค.ศ.1978 Madeleine Leiningerสร้างทฤษฎีชื่อTranscultural nursingTheory
ค.ศ.1978 Jean Watsonสร้างทฤษฎีชื่อTranspersonal Caring
ค.ศ.1974 Sister Callista Royสร้างทฤษฎีชื่อRoy’s Adaptation model
ค.ศ.1971 Dorothea E. Oremสร้างทฤษฎีชื่อSelf - care Theory
ค.ศ.1980 Betty Neumanสร้างทฤษฎีชื่อSystem Model