Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนมติของคน (Man)
คน
ประกอบด้วย
กายหรือร่างกาย
ส่วนของโครงสร้าง
หน้าที่การทำงานของร่างกายของบุคคล
จิตหรือจิตใจ
ประกอบด้วย 3 ส่วนย่อย
อารมณ์และความรู้สึก
จิตวิญญาณ (Spirit)
สติปัญญา หรือ ความคิด
สังคม
ส่วนของคนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นๆ รอบตัว
คนจะเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นด้วย บทบาท หน้าที่ ของตนที่มีต่อบุคคลอื่น
สัมพันธภาพแต่ละบุคคล
บทบาทและสัมพันธภาพมีส่วนสัมพันธ์กัน
คนเป็นระบบเปิด
มีการรับจากสิ่งแวดล้อม และมีการให้/ตอบสนองแก่สิ่งแวดล้อม
การรับและการให้เกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยมีความสัมพันธ์กัน
คนเป็นหน่วยมีชีวิตที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา
บางครั้งการให้หรือการรับ อาจไม่ได้เกิดต่อเนื่องกันโดยทันที
บางครั้งอาจมีเฉพาะการให้โดยไม่มีการรับในลักษณะเดียวกันก็เป็นได้
คนมีความต้องการพื้นฐาน
ในแต่ละบุคคลจะมีความต้องการทั้งทางร่างกาย จิตใจและสังคม
ความต้องการของคนแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ตามทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์
ความต้องการความรัก ความผูกพัน (Affiliation)
ความต้องการความภาคภูมิใจและความมีศักดิ์ศรี (Self-esteem)
ความต้องการความปลอดภัย (Safety and security)
ความต้องการความพอใจตนเอง (Self-actualization)
ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ (Physical needs)
คนมีพัฒนาการ
การพัฒนาการจะเป็นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เกิดจนถึงวัยชรา
การพัฒนาการของคนอาจแบ่งออกได้เป็น
ด้านร่างกาย
ด้านสติปัญญา
ด้านอารมณ์ สังคม
ด้านคุณธรรม
การพัฒนาการเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพหรือคุณลักษณะของบุคคลแต่ละคนในด้านต่างๆ
คนมีพัฒนาการ
การพัฒนาการในแต่ละด้านจะมีความต่อเนื่องกันและเป็นลำดับขั้น การพัฒนาการในและด้าน แต่ละขั้นตอนจะมีลักษณะเฉพาะ
การพัฒนาการด้านต่างๆของคนในแต่ละวัย จะมีความผสมผสานและอาจมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
คนมีความต้องการภาวะสมดุล หรือภาวะปกติ
คนจะต้องการอยู่ในภาวะสมดุลอยู่ตลอดเวลา โดยในภาวะที่สมดุลแล้วก็จะพยายามดำรงภาวะนั้นไว้
เมื่อเกิดภาวะเสียสมดุลก็จะพยายามปรับสู่สมดุล
กระบวนการที่ดำรงภาวะสมดุลหรือปรับสมดุล
เรียกว่า กระบวนการปรับตัว หรือกลไกการต่อสู้เพื่อสมดุล
กระบวนการหรือกลไกทางด้านร่างกาย
จิตสังคม
ความต้องการดำรงภาวะสมดุล (Homeostasis)
ความต้องการในระดับที่ไม่รู้ตัวเป็นไปโดยอัตโนมัติ และในระดับที่รู้ตัว
ความต้องการปรับสู่ภาวะสมดุล
เมื่อคนอยู่ในภาวะที่เสียสมดุลหรือต่างจากปกติ คนจะพยายามปรับสู่ภาวะสมดุลให้เร็วที่สุด โดยกลไกการปรับสู่ภาวะสมดุลอาจจะเป็นทั้งระบบอัตโนมัติหรือรู้ตัว
คนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
คนแต่ละคนก็มีลักษณะเฉพาะของตนเอง เรียกว่า ความเป็นปัจเจกบุคคล
คนแต่ละคนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันทุกคน
ปัจจัยที่ทำให้แต่ละคนเป็นปัจเจกบุคคล
ระดับการพัฒนาการด้านร่างกาย
จิตสังคม
ประสบการณ์ในชีวิต
คนมีสิทธิของตน
แต่ละบุคคล ไม่ว่าในภาวะที่เป็นเด็ก/ผู้ใหญ่ในบทบาท/ตำแหน่งใดก็ตามจะมีสิทธิแห่งตนตามภาวะที่ดำรงอยู่
สิทธิในการได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
สิทธิในการได้รับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
คนมีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
การช่วยตนเองในกิจวัตรประจำวัน
การแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง
มโนมติของสิ่งแวดล้อม (Environment)
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท
สิ่งแวดล้อมทางเคมี
สิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิต
สารเคมีทุกชนิด
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
สิ่งมีชีวิตต่างๆ ทั้งพืช และสัตว์ ที่มีขนาดเล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น พืชและสัตว์ที่มีขนาดใหญ่โตกว่าคน
ไวรัส
ปรสิต
แบคทีเรีย
ต้นพืชชนิดต่างๆ
วัว ควาย สุนัข
สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
สิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่เป็นรูปธรรมที่สำคัญ
บุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มีบทบาทหน้าที่ต่อกัน
หน่วยของสังคมที่สำคัญที่สุด
ครอบครัว
สังคมที่ใหญ่กว่าครอบครัว
ชุมชนระดับต่างๆที่อาศัยอยู่ตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ประเทศ
สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่เป็นนามธรรม
ไม่สามารถจะสัมผัสได้ แต่มีผลต่อพฤติกรรมของบุคคลที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมนั้นๆ
ความเชื่อ
ประเพณี
วัฒนธรรม
กฎหมาย
ค่านิยม
ศาสนา
ให้ประโยชน์และโทษแก่บุคคล
อากาศที่บริสุทธิ์มีส่วนช่วยทำให้คนมีร่างกายที่แข็งแรง
อากาศที่มีแก๊สพิษอยู่ก็อาจทำให้คนถึงแก่ชีวิตได้
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อมภายนอกที่ไม่มีชีวิต
อากาศ
ดิน
รังสี
น้ำ
เสียง
แสง
ความร้อน
ลม
ที่พักอาศัย สิ่งก่อสร้างต่างๆ
มโนมติของสุขภาพ (Health)
ประกอบด้วย 2 ภาวะ
ภาวะสุขภาพดี (Wellness)
เจ็บป่วย (lllness)
สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกติทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ทำให้บุคคลทำหน้าที่บกพร่องหรือทำหน้าที่ได้น้อยลงกว่าปกติ
ความเจ็บป่วยอาจไม่เกี่ยวข้องกับการเป็นโรคก็ได้
เป็นภาวะที่บุคคลรู้สึกว่ามีสุขภาพไม่ดี
ไนติงเกล (Nightingale,1860)
ภาวะที่ปราศจากโรคและสามารถใช้พละกำลังของตนเองได้เต็มความสามารถ
องค์การอนามัยโลก (WHO,1947)
สภาวะที่มีความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขมิใช่เพียงแต่ปราศจากโรคและความพิการเท่านั้น
สภาวะที่ร่างกายมีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ปราศจากโรคและความพิการใดๆ
สุขภาพมีลักษณะเป็นพลวัตรและต่อเนื่อง
สภาพร่างกายจิตใจที่เปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ทำให้สุขภาพเปลี่ยนแปลง
บางคนอาจเจ็บป่วยหนักตั้งแต่แรกเกิดและเสียชีวิต
มโนมติของการพยาบาล (Nursing)
การพยาบาลที่จะช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพดี หรือปรับสู่ภาวะสุขภาพดี
ประกอบด้วย
การส่งเสริมสุขภาพ
การช่วยเหลือที่ช่วยให้คนมีสุขภาพดีกว่าที่เป็นอยู่
ช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การป้องกันโรค
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
การป้องกันระดับที่ 1 (primary prevention)
เพื่อป้องกันความไม่สุขสบาย ป้องกันการเสียเงินทองจากค่าใช้จ่ายในการรักษาให้ตนเอง
บุคคลที่อยู่ในกลุ่มสุขภาพดี-สุขภาพปกติ จะเป็นผู้ที่มีพฤติกรรมการป้องกันในระดับที่ 1
การป้องกันระดับที่ 2 (secondary prevention)
องค์กรที่ทำหน้าที่คัดกรอง หรือให้ความรู้แก่ประชาชน
การป้องกันระดับที่ 3 (tertiary prevention)
เริ่มเมื่อบุคคลป่วยเข้ามารับการรักษาที่รพ.
สอนให้รู้จักการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก
การดูแลรักษา
การปฏิบัติของพยาบาลในด้านการดูแลรักษาจะเป็นไปตามแผนการรักษาของแพทย์
ใช้ศิลปะในการติดต่อสื่อสาร การแสดงออกทางสีหน้า ท่าทาง การผ่อนปรน การสัมผัส และความเข้าใจในความรู้สึกอารมณ์ของผู้ป่วยในขณะนั้น
การอธิบายให้ข้อมูลที่จำเป็นแก่ผู้ป่วยรวมทั้งญาติให้เข้าใจกระจ่างจะช่วยให้ได้รับความร่วมมือที่ดีและเป็นผลดีต่อการรักษา
การฟื้นฟูสภาพ
เป็นระยะที่บุคคลออกจากภาวะของการเป็นผู้ป่วยกำลังกลับไปอยู่ในบทบาทของคนปกติทั่วไป
เป็นผู้ให้กำลังใจ ให้ความหวัง ชื่นชมและยกย่องผู้ป่วย
การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้/ช่วยให้กลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย
ลักษณะการช่วยเหลือของพยาบาล สมาคมพยาบาลอเมริกัน
เป็นการวินิจฉัยและให้การรักษาปฏิกิริยาโต้ตอบที่มีต่อภาวะที่มีปัญหาสุขภาพหรือเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพ
การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
จากบทบาทและวิธีการปฏิบัติของพยาบาลที่มีลักษณะเฉพาะ
ถ้าขาดการพยาบาลที่มีคุณภาพ อาจส่งผลให้คนไม่สามารถดำรงภาวะสุขภาพดีไว้ได้
การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ
การประเมินสภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือคนให้สามารถดำรงภาวะสมดุลหรือภาวะสุขภาพดีได้ และช่วยเหลือคนที่เจ็บป่วยให้ปรับตัวกลับสู่ภาวะสมดุล
ในการช่วยเหลือคนนั้นจะช่วยโดยใช้บทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การดูแลรักษาและการฟื้นฟูสภาพ
การพยาบาลมีความสัมพันธ์กับสุขภาพของคน
มโนทัศน์และทฤษฎีทางการพยาบาล
การจำแนกทฤษฎีตามลักษณะการนำไปใช้
ทฤษฎีเชิงนิรนัย (Deductive nursing theories) เป็นการพัฒนาทฤษฎีจากการนำศาสตร์ต่างๆมาสังเคราะห์ จัดระบบหรือขยายมโนมติเดิมให้เกิดเป็นมโนมติใหม่
ทฤษฎีเชิงอุปนัย (Inductive nursing theories) เป็นการพัฒนาทฤษฎีที่เกิดจากการปฏิบัติการพยาบาลมาประมวลเพื่อสรุปเป็นทฤษฎี
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
ทฤษฎีระดับกว้าง (Grand theory)
กำหนดกรอบแนวคิดหรือแบบจำลองมโนมติที่ครอบคลุมเนื้อหาสาระที่กว้าง นำไปทดสอบโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ยาก
ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Rang theory)
มีขอบเขตเนื้อหาสาระแคบลงและมีจำนวนมโนมทัศน์น้อยกว่าทฤษฎีระดับกว้าง เกิดจากการศึกษาวิจัยสามารถนำไปใช้อ้างอิงและขยายต่อได้
ทฤษฎีอภิทฤษฎี (Meta-theory)
มีเป้าหมายที่กระบวนการสร้างทฤษฎี จะมีจุดเน้นที่การตั้งคำถามเชิงปรัชญา
ทฤษฎีระดับปฏิบัติ (Practice theory)
มีความซับซ้อนน้อยที่สุด เป็นชุดข้อความเชิงทฤษฎีที่เกิดจากการทดสอบสมมติฐานในปรากฎการณ์ใดปรากฎการณ์หนึ่ง