Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 11 การวิจัยเชิงคุณภาพ ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 11 การวิจัยเชิงคุณภาพ
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1. แนวคิดการวิจัยเชิงคุณภาพ
ความหมาย/ความสำคัญ/ การประยุกต์
ความสำคัญ
มีความสำคัญอย่างยิ่งกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เพราะจะทำให้เข้าใจปรากฎการณ์ทางสังคมเกษตรได้เป็นอย่างดี
การประยุกต์
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย ทั้งการศึกษา
ในเชิงองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น รูปแบบการจัดการทรัพยากร
ความหมาย
เป็นการแสวงหาความรู้โดยพิจารณาปรากฎการณ์
ทางสังคมกับสภาพแวดล้อมตามความเป็นจริง
ลักษณะและแบบแผนงานวิจัยเชิงคุณภาพ
แบบแผน
วิเคราะห์ข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูล
การตั้งคำถาม
การศึกษาข้อมูลบริบทจริง
ลักษณะ
ตั้งคำถาม/สมติฐานที่เจาะจงไว้ก่อน
ใช้เทคนิควิธีเชิงปริมาณ
มีแบบแผนเฉพาะเจาะจง
ศึกษาพฤติกรรมคน
รูปแบบการวิจัย
ขึ้นอยู่กับผลสรุปเชิงนัยทั่วไป
อ้างอิงเครื่องมือวัดต่างๆ
ลักษณะ
ให้ความสนใจกับปฏิสัมพันธ์กับมนุษย์
ให้ความสำคัญกับความคิดของกลุ่มที่ศึกษา
ให้ความสำคัญกับบริบท
มีความยืดหยุ่น
ใช้หลักการศึกษารอบด้าน
คำถาม/สมมติฐานจะดำเนินการระหว่างการวิจัย
ไม่อิงตัวเลข นำเสนอเชิงบรรยาย
เป็นการศึกษาที่ลุ่มลึกและใช้เวลานาน
ทำความเข้าใจ/การตีความหมาย
ใช้วิธีการสังเกตข้อมูล
อ้างอิงการพรรณนาเป็นหลัก
3. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ
เครืองมือ
การจัดแยกประเภทของคำ ความคิด ความเชื่อ
เครือข่ายของเหตุผล
แผนภูมิ
แผนที่
ตารางรายการ
วิธีการ
การวิเคราะห์ส่วนประกอบ
Swot Analysis
การสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย
การเปรียบเทียบข้อมูล
การตีความข้อมูล
การอธิบายสาเหตุและการเชื่อมโยงข้อมูล
จำแนกตามประเภทข้อมูล
ขั้นตอน
2.การตรวจสอบข้อมูล
3.จดบันทึกข้อมูล
4.การจัดแฟ้มข้อมูล
5.การทำดัชนีข้อมูล
1.เก็บรวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูล
ุ6.การทำข้อสรุปชั่วคราว
7.การสร้างบทสรุปและพิสูจน์บทสรุป
การนำเสนอข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพ
จะเป็นการนำเสนอในลักษณะแผนภาพต่างๆ
หรือสารบัญตารางเปรียบเทียบ
2. การออกแบบงานวิจัยเชิงคุณภาพ
กำหนดปัญหา วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิด
และสมติฐานการวิจัยเชิงคุณภาพ
ปัญหาหรือโจทย์การวิจัย คือ ข้อสงสัยที่นักวิจัยต้องการรู้ข้อเท็จจริง
ซึ่งการกำหนดปัญหาเบื้องต้น คือ การเลือกประเด็นที่ผู้วิจัยสนใจและ
เป็นปัญหาปรากฎการณ์ที่อยู่ในความสนใจของคนทั่วไป
การเลือกตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ
การเลือกชุมชนที่ต้องการศึกษา
การเลือกบุคคลหรือตัวอย่างที่จะศึกษา
วิธีเก็บข้อมูลในงานวิจัยเชิงคุณภาพ
การสนทนา/การจัดเวทีชาวบ้าน
การบันทึกประวัติชีวิตบุคคล
การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก
การสังเกต
การสนทนากลุ่ม
การเก็บข้อมูลแบบผสมผสาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ในการวิจัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือ:
แบบอื่น ๆ
แบบบันทึกการสังเกต
แบบสัมภาษณ์
อุปกรณ์
เครื่องบันทึกเสียง
กล้องบันทึกภาพ และการวาดภาพ
บันทึกการสนทนา