Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนทัศน์พื้นฐานทางการพยาบาล
หมายถึง ความรู้ ความคิด ความเช่ือในส่ิงที่เป็นพื้นฐานของการพยาบาล
ความรู้พื้นฐานในมโนมติของคน
สิ่งแวดล้อม สุขภาพ และการพยาบาล
ศึกษาเพื่อจะเป็นพื้นฐานในการปฏิบัติการพยาบาลของตน
มโนมติคน (Man)
1.เป็นองค์รวม ประกอบด้วยร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ จิตวิญญาณเป็นแก่นตัวตน (Self) ของบุคคล เป็นแหล่งที่เกิดความตะหนักในตนเอง ความรู้สึกสำนึกขั้นสูง และเป็นพลังภายใน ซึ่งมนุษย์มีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
1.1 กายหรือร่างกาย ประกอบด้วยส่วนของโครงสร้างและหน้าที่การทำงานของร่างกายของบุคคล
1.2 จิตหรือจิตใจ ประกอบด้วย 3 ส่วนย่อย
1.2.1 อารมณ์และความรู้สึก
1.2.2 จิตวิญญาณ
1.2.3 สติปัญญาหรือความคิด
1.3 คน คือ ส่วนของคนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นๆรอบตัว บทบาท หน้าที่ ของตน
สัมพันธภาพแต่ละบุคคล
บทบาทสัมพันธภาพมีส่วนสัมพันธ์กัน
2.คนเป็นระบบเปิด มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลาการรับและการให้เกิดขึ้นได้ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคมโดยมีความสัมพันธ์กัน
คนมีความต้องการพื้นฐานทั้งทางร่างกาย จิตใจและสังคมของมาสโลว์
3.1 ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ (Physical needs)
3.2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety and security)
3.3 ความต้องการความรัก ความผูกพัน (Affiliation)
3.4 ความต้องการความภาคภูมิใจและความมีศักดิ์ศรี (Self-esteem)
3.5 ความต้องการความพอใจตนเอง (Self-actualization)
4.คนมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เกิดจนถึงชราอาจแบ่งออกได้เป็น
ด้านร่างกาย
ด้านสติปัญญา
ด้านอารมณ์ สังคม
ด้านคุณธรรม
แต่ละด้านจะมีความต่อเนื่องกันและเป็นลำดับขั้นตอนจะมีลักษณะเฉพาะจะมีความผสมผสานและอาจจะมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
5.คนมีความต้องการภาวะสมดุลหรือภาวะปกติ เรียกว่า กระบวนการการปรับตัว หรือกลไกการต่อสู้เพื่อสมดุล
5.1 ความต้องการดำรงภาวะสมดุล (Homeostasis) ความต้องการในระดับที่ไม่รู้ตัวเป็นไปโดยอัตโนมัติและในระดับที่รู้ตัว
5.2 ความต้องการการปรับสู่ภาวะสมดุล อยู่ในภาวะที่เสียสมดุลหรือต่างจากปกติโดยกลไกการปรับสู่ภาวะสมดุล
6.คนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคลมีลักษณะเฉพาะของตนเอง เรียกว่า ความเป็นปัจเจกบุคคลแต่ละคนเป็นปัจเจกบุคคล คือ พันธุกรรมระดับการพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย จิตสังคม และประสบการณ์ในสังคม
7.คนมีสิทธิของตนไม่ว่าในภาวะที่เป็นเด็ก/ผู้ใหญ่ในบทบาท/ตำแหน่งใดก็ตามจะมีสิทธิแห่งตนตามภาวะที่ดำรงอยู่
สิทธิการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
สิทธิการได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
สิทธิในการได้รับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
8.คนมีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง ทุกคนมีความสามารถที่จะช่วยเหลือตนเองในด้านต่างๆ
มโนมติของสิ่งแวดล้อม (Environment)
1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ หมายถึง สิ่งแวดล้อมภายนอกที่ไม่มีชีวิต เช่น แสง เสียง รังสี อากาศ ดิน น้ำ ลม สิ่งแวดล้อมเหล่านี้มีผลเบื้องต้นต่อร่างกาย
2.สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ สิ่งต่างๆทั้งพืชและสัตว์ที่มีขนาดเล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เช่น ไวรัส แบคทีเรีย ปรสิต
3.สิ่งแวดล้อมทางเคมี ได้แก่ สารเคมีทุกชนิด รวมทั้งอาหาร ยา อาจมาจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
4.สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ ที่เป็นรูปธรรมที่สำคัญ คือ บุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มีบทบาทหน้าที่ต่อกัน หน่วยที่สำคัญที่สุด คือ ครอบครัว เป็นสิ่งแวดล้อมซึ่งกันและกัน อาจก่อผลดีหรือผลเสียต่อกันได้
สังคมที่ใหญ่กว่าครอบครัว คือ ชุมชนระดับต่างๆ
สังคมที่เป็นนามธรรมไม่สามารถจะสัมผัสได้ เช่น ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณี กฎหมาย ศาสนา
มโนมติของสุขภาพ (Health)
มีลักษณะเป็นนามธรรม
ภาวะที่เกิดขึ้นกับบุคคลตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยชรา
ผู้ให้ความหมายของสุขภาพไว้มากมาย
คนสามารถที่จะปฏิบัติหน้าที่ได้ ดำเนินได้ตามวัตถุประสงค์
สุขภาพของคนจะประกอบด้วย 2 ภาวะ คือ
ภาวะสุขภาพดี (wellness)
เจ็บป่วย (IIInes)
ไนติงเกล (Nightingale, 1860)
สภาวะที่ปราศจากโรค และสามารถใช้พละกำลังของตนเองได้เต็มความสามารถ
องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947)
สภาวะที่มีความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจและสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
สุขภาพดี หมายถึง สภาวะที่ร่างกายมีความสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ปราศจากโรคและความ
พิการใดๆ
พระราชบัญญัติของภาพแห่งชาติในมาตราท่ี 3
เป็นองค์รวมอย่างสมดุลทั้งทางกายทางจิตทางสังคม
และทางจิตวิญญาณ
ความเจ็บป่วย(illness)
สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
เป็นภาวะที่บุคคลรู้สึกว่ามีสุขภาพไม่ดี
ความเจ็บป่วยอาจมีสาเหตุเร่ิมแรกจากความผิดปกติของอวัยวะต่างๆในร่างกาย
การบ่งชี้ถึงสภาวะความเจ็บ ป่วยและการมีสุขภาพดีนั้นบางครั้งไม่เด่นชัด
ในโลกนี้น้อยคนนักที่จะมีสุขภาพดีมาก คือ ครบทั้ง กาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ตลอดเวลา
ลักษณะเป็นพลวัตรและต่อเนื่อง
ในขณะหน่ึงคนอาจอยู่ในภาวะที่สมบูรณ์แข็งแรง แต่ก็อาจอยู่ในภาวะเจ็บป่วยได้ในเวลาไม่กี่ชั่วโมงต่อมา
บางคนอาจป่วยหนักตั้งแต่แรกเกิดและเสียชีวิต
มโนมติของการพยาบาล (Nursing)
1.การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้/ช่วยให้คนกลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย
คำว่ารักษาการพยาบาล คือ กิจกรรมที่พยาบาลปฏิบัติในขอบเขตหน้าที่ของตน ในการช่วยเหลือด้านพฤติกรรมของบุคคลที่เปลี่ยนไปจากเดิม
2.การพยาบาลที่จะช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพดีหรือปรับสู่ภาวะสุขภาพดี
2.1 การส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนเป็นการช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2.2 การป้องกันโรค
การป้องกันโรคแบ่งออกเป็น 3 ระดับซึ่งครอบคลุมการป้องกันทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม
2.2.1การป้องกันระดับที่ 1 (Primary prevention)
การกระทำเป็นการป้องกันโรคบางโรคเป็น
การเฉพาะ
คนกลุ่มนี้อาจมพฤติกรรมเสี่ยงอย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่างซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้ป่วยในวันใดวันหน่ึงข้างหน้า
2.2.2 การป้องกันระดับที่ 2 (Secondary prevention)
ส่งเสริมการตรวจพบผู้ป่วยตั้งแต่ โรคยังไม่ปรากฎอาการเพื่อให้สามารถให้การรักษาได้ทันท่วงที
2.2.3 การป้องกันระดับที่ 3 (tertiary prevention)
สอนให้รู้จักการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก
2.3 การดูแลรักษา
ผู้ป่วยแต่ละคนจะมีความกลัววิตกกังวลแตกต่างกันออกไป
เป็นกิจกรรมที่ทำโดยมุ่งเน้นการบำบัดอันเป็นงานที่ต้องดำเนินการตรงเวลาและบางกิจ กรรมอาจทำความเจ็บปวดแก่
ผู้ป่วย
เป็นกิจกรรมที่ทำโดยมุ่งเน้นการบำบัดอันเป็นงานที่ต้องดำเนินการ ตรงเวลาและบางกิจกรรมอาจทำความเจ็บปวดแก่
ผู้ป่วย
รู้จักใช้ศิลปะในการติดต่อสาร การแสดงออกทางสีหน้า ท่าทาง การผ่อนปรนการสัมผัสที่อ่อนโยน
ข้อมูลที่จำเป็นแก่ผู้ป่วยรวมทั้ง ญาติให้เข้าใจกระจ่าง
เพราะประเด็นสำคัญ คือการช่วยให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้องได้รับผลกระทบจากการเจ็บป่วย น้อยที่สุด
2.4 การฟื้นฟูสภาพร่างกาย
เป็นผู้ป่วยกำลังกลับไปอยู่ในบทบาทของคนปกติ
เป็นผู้ให้กำลังใจให้ความหวังช่ืนชมและยกย่องผู้ป่วย
พยาบาลในการฟื้นฟูสภาพแก่ผู้ป่วย จะต้องใช้กระบวนการใดๆ ก็ตามที่จะสามารถช่วยเหลือให้ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย
3.การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
กระบวนการพยาบาลจะสิ้นสุด ก็ต่อเมื่อความต้องการของผู้รับบริการได้รับการตอบสนองหรือปัญหาได้รับการแก้ไข/ปัจจัยเสี่ยงได้รับการจัดการให้หมดสิ้นไป
4.การพยาบาลเป็นบริการที่จำ เป็นต่อสังคม
ถ้าขาดการพยาบาลที่มีคุณภาพ อาจส่งผลให้คนไม่สามารถดำรงภาวะสุขภาพดีไว้ได้
มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือคนให้สามารถดำรงภาวะสมดุลหรือภาวะ
สุขภาพดีได้และช่วยเหลือคนที่เจ็บป่วยให้ปรับตัวกลับสู่ภาวะสมดุล
ความสำคัญของมโนมติพื้นฐานทางการพยาบาล
• เป็นพื้นฐานของการพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาล
• เป็นพื้นฐานของการวิจัยทางการพยาบาล
• เป็นพื้นฐานของการปฏิบัติการพยาบาล
•เป็นพื้นฐานของการจัดการศึกษาพยาบาล
แนวคิดภาวะสุขภาพ การเจ็บป่วยและการพยาบาล
ภาวะสุขภาพจึงเป็นความต้องการสูงสุดของบุคคลสุขภาพดีจะช่วยให้
กระบวนการเจริญเติบโตพัฒนาการทางด้านร่างกายจิตใจและสังคมเป็นไปได้ด้วยดี
ความเจ็บป่วย (illness)
สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกตทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณซึ่งอาจจะเปลี่ยนด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายๆด้านรวมกัน
อาจมีสาเหตุเริ่มแรกจากความผิดปกติของอวัยวะต่างๆใน
ร่างกายหรือความผิดปกติของจิตใจ
คนส่วนมากมักจะมีความบกพร่องทางสุขภาพบ้างไม่มากก็น้อยแต่ถ้าหากบุคคลน้ันพอใจในสภาพการณ์เป็นอยู่และสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุขก็ถือได้ว่ามีสุขภาพดี
ความต่อเนื่องของภาวะสุขภาพและความเจ็บป่วย
สุขภาพดีมาก
สุขภาพดี
สุขภาพปกติ
เจ็บป่วยเล็กน้อย
เจ็บป่วยรุนแรง
ตาย
มโนทัศน์และทฤษฎีทางการพยาบาล
ทฤษฎีทางการพยาบาล (Nursing Theory)
หมายถึง แก่นสาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาลซึ่ง มุ่งอธิบายธรรมชาติของคนสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อบุคคล ภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วยของบุคคล โดยมมีเป้าหมายของการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล
กระบวนทัศน์ (Paradigm)
หมายถึง กรอบการมองหรือกรอบเค้าโครงแนวคิดหรือแบบอุดมคติหรือปรัชญาที่เป็นที่ยอมรับในกลุ่มวิชาชีพซึ่งจะให้ข้อตกลงเพื่อเป็น
แนวทางปฏิบัติวิจัยและสร้างความเข้าใจในศาสตร์น้ันเป็นแนวเดียวกัน
Metaparadigm
หมายถึง กรอบขอบเขตหรือโครงสร้างทางความคิดหรือมโนมติในภาพรวมกว้างๆของศาสตร์สาขาต่างๆ
กระบวนทัศน์ทางการพยาบาล ประกอบด้วยมโนทัศน์หลักเก่ียวกับ
•Person
•Health
•Environment
•Nursing
กรอบแนวคิด
(ConCeptual fraMework / Model)
หมายถึงกลุ่มของมโนทัศน์สัมพันธ์กันเป็นภาพรวมของปรากฏการณ์ หรือความจริงท่ีช่วยให้เห็นจุดเน้นของความคิดเปรียบเสมือนร่มโดยภายใต้ร่มประกอบด้วยทฤษฎีต่าง ๆ
โครงสร้างความสัมพันธ์
Metaparadigm
คน
สุขภาพ
สิ่งแวดล้อม
การพยาบาล
แบบจำลองมโนทัศน์/ทฤษฎีการพยาบาลการพยาบาลระดับกว้าง
ทฤษฎีของโอเรม มี 6 มโนทัศน์หลัก ประกอบด้วย การดูแลตนเอง (self-care) ความต้องการการดูแลตนเองทั้งหมด (therapeutic self-care demand) ความสามารถในการดูแลตนเอง (self-care agency) ความพร่องในการดูแลตนเอง (self-care deficit) ความสามารถทาง การพยาบาล (nursing agency) และปัจจัยเงื่อนไข พื้นฐาน (basic conditioning)
ทฤษฎีของรอยเป็นการประเมินของแต่ละบุคคลเกี่ยวกับลักษณะนิสัย ความคาดหวัง ความรู้สึกมีค่า การให้คุณค่า อัตมโนทัศน์ส่วนบุคคลนี้ประกอบด้วย ด้านความมั่นคงในตนเอง (Self consistency) ด้านอุดมคติของตนเอง (Self ideal) ด้านศีลธรรมจรรยาและจิตวิญญาณแห่งตน (Moral ethical spiritual self)
ทฤษฎีของวัตสัน เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ ดังนี้ พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ โดยการควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และการเรียนรู้จะคงทนถาวรหากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กันนั้นควบคู่กันไปอย่างสม่ำเสมอ
ทฤษฎีของนิวแมน แนวคิดหลักของทฤษฎีระบบของนิวแมนให้ความสำคัญกับระบบบุคคลแลระดับการปรับตัวของสุขภาพ ซึ่งได้พัฒนาขึ้นตามช่วงเวลาและภาวะปกติของบุคคล
ลักษณะพื้นฐานของทฤษฎี
สามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ให้เข้าใจปรากฏการณ์ที่เฉพาะได้
จะต้องแสดงลำดับของเหตุผลตามหลักตรรกวิทยา
ควรจะง่ายแก่การสรุปอ้างอิงได้อย่างกว้างขวางและครอบคลุม
ให้สมมติฐานที่สามารถทดสอบได้
สามารถนําไปใช้ในการปรับปรุงแนวทางปฏิบัติได้
ทฤษฎีที่น่าเชื่อถือจะต้องสอดคล้องกับ ทฤษฎีอื่นที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว
การจำแนกทฤษฎีตามลักษณะการนำไปใช้
ทฤษฎีเชิงนิรนัย (Deductive nursing theories) เป็นการพัฒนากการนําศาสตร์ต่างๆมาสังเคราะห์ ซึ่งทฤษฎีทางการพยาบาลเชิงนิรนัยนี้มีหลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎีการพยาบาลของคิงทฤษฎีการพยาบาลของรอยทฤษฎีการพยาบาลของนิวแมน ทฤษฎีการพยาบาลของไลนิงเจอร์ ทฤษฎีการพยาบาลของวัตสัน
ทฤษฎีกาชิงอุปนัย(Inductive nursing theories)เป็นการพัฒนาทฤษฎที่เกิดจากการปฏิบัติการพยาบาลมาประมวลเพื่อสรุปเป็นทฤษฎี
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
1.ทฤษฎีอภิทฤษฎี (Meta-theory)มีเป้าหมายที่กระบวนการสร้างทฤษฎีจะมีจุดเน้นที่การตั้งคำถามเชิงปรัญชา
2.ทฤษฎีระดับกว้าง (Grand theory) กำหนดกรอบแนวคิดหรือแบบ จำลองมโนมติที่ครอบคลุมเนื้อหาสาระที่กว้างเนื่องจากมีความเป็นนามธรรมสูง แต่สามารถนำไปเป็นแนวทางการปฏิบัติและเป็นแนวทางในการสร้างองค์ความรู้ในระดับรองลงมาได้ดี
3.ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Rang theory) เกิดจากการวิจัยสามารถนำไปใช้อ้างอิงและขยายต่อได้ ทดสอบได้ นำไปเป็นหลักในการปฏิบัติหน้ชัดเจนขึ้น
4.ทฤษฎีระดับปฏิบัติ (Practice theory) มีเนื้อหาสาระและจำนวนมโนมติไม่มาก สามารถทดสอบได้ง่ายและนำไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
ประโยชน์ของทฤษฎีต่อการปฏิบัติการพยาบาล
•เป็นแนวทางในการนำกระบวนการพยาบาล
•แสดงถึงความเป็นเอกสิทธิ์ในวิชาชีพการพยาบาล (Autonumy)
วิวัของทฤษฎีการพยาบาล
Florence Nightingaleเป็นบุคคลแรกที่พยายามสร้างศาสตร์การพยาบาลและเตรียมพยาบาลอย่างมีรูปแบบชัดเจน
Technical arts
Nursing properties
Nursing sciences
พัฒนาการของทฤษฎีทางการพยาบาล
1.ระยะก่อนปี ค.ศ 1960
•พัฒนาพื้นฐานของทฤษฎีจากแนวคิดจิตวิทยา สังคมศาสตร์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์ และพฤติกรรมศาสตร์
ค.ศ.1950 Environmental Theory : Nightingale
ค.ศ.1952 Interpersonal Relations in Nursing : Hildegard Peplau
2.ระยะปี ค.ศ 1960-1970
ค.ศ. 1961 Jean Orlando สร้างทฤษฎีชื่อNursing Process Theory (เน้นการปฏิบัติการ พยาบาล)
ค.ศ. 1970 Martha E. Rogers สร้างทฤษฎี Science of Unitary Human Being
3.ระยะปี ค.ศ 1971-1980
ค.ศ.1971 Dorothea E. Orem สร้างทฤษฎีชื่อ Self - care Theory
ค.ศ.1974 Sister Callista Roy สร้างทฤษฎีชื่อ Roy’s Adaptation model
ค.ศ.1978 Madeleine Leininger สร้างทฤษฎีชื่อ Transcultural nursing Theory
ค.ศ.1978 Jean Watson สร้างทฤษฎี Transpersonal Caring
ค.ศ.1980 Betty Neuman สร้างทฤษฎีชื่อ System Model
4.ระยะปี ค.ศ 1981-ปัจจุบัน
ระยะแรก เน้นที่การนําเอาทฤษฎีต่างๆที่ถูกสร้างขึ้นมาแล้วมาทดลองปฏิบัติ/พิสูจน์ ข้อเท็จจริงตามข้อสมมุติฐาน
ระยะหลังเน้นพัฒนาทฤษฎีขึ้นมาใหม่พัฒนาระบบสารสนเทศทางการพยาบาลเพื่อ เผยแพร่ความรู้