Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 10 การวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 10 การวิจัยเชิงปริมาณในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงปริมาณ
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ
การวิจัยเชิงปริมาณ
ความหมาย การวิจัยที่ต้องอาศัยระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพื่อค้นหาความจริง
เป็นการวิจัยที่มีระเบียบวิธีชัดเจนในการวิจัยโดยการสร้างเครื่องมือ เพื่อเก็บรวบรวม
ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อการวัดสิ่งที่ศึกษา (ตัวแปร) ออกมาเป็นตัวเลขและ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการทางสถิติ เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่มีความเชื่อถือได้
และสามารถนำไปสรุปอ้างอิงยังประชากร
ลักษณะสำคัญของการวิจัยเชิงปริมาณ
1.เป้าหมายของการวิจัยเชิงปริมาณโดยหลักใหญ่
คือ มุ่งศึกษาพฤติกกรรมของมนุษย์
2.แนวทางการวิจัยที่เชิงปริมาณใช้จะมี
แบบแผนเฉพาะเจาะจงที่ชัดเจนแน่นอน
3.ในการวิจัยเชิงปริมาณโดยมากจะมีการตั้งคำถามวิจัย
หรือสมมติฐานวิจัยที่เจาะจงไว้ก่อน
4.เทคนิควิธีเชิงปริมาณเป็นหัวใจของการวิจัยทุกขั้นตอน
5.เทคนิคการเก็บข้อมูลโดยอ้างอิงเครื่องมือวัดต่างๆ
6.วิจัยเชิงปริมาณ มักจะนึกถึงรูปแบบการวิจัย 2 รูปแบบ
ได้แก่ การสำรวจ กับการทดลอง
จุดมุ่งหมายและประเภทของ
การวิจัยเชิงปริมาณ
จุดมุ่งหมาย
1.เพื่อการสำรวจ
2.เพื่อบรรยายหรือพรรณา
3.เพื่ออธิบายความสัมพันธ์และทำนาย
4.เพื่อควบคุม
ประเภท
1.การวิจัยเชิงสำรวจ
2.การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
3.การวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
4.การวิจัยเชิงทดลอง
กระบวนการดำเนินงานวิจัยเชิงปริมาณ
1.การกำหนดโจทย์ หรือปัญหาและวัตถุประสงค์การวิจัย
2.การทบทวนวรรณกรรม
3.การสร้างกรอบแนวคิดและสมมติฐานการวิจัย
4.การออกแบบการวิจัย
5.การเก็บรวบรวมข้อมูล
6.การจัดกระทำและวิเคราะห์ข้อมูล
7.การเขียนรายงานการวิจัยและเสนอผล
2.การวิจัยเชิงปริมาณแบบไม่ทดลองในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.การวิจัยเชิงสำรวจ
จุดมุ่งหมาย
เพื่อทำความเข้าใจภาพรวมของปรากฎการณ์หนึ่งๆ ตามทัศนะหรือการรับรู้ของกลุ่มเป้าหมาย
ทั้งข้อเท็จจริง ความรู้ ความคิดเห็น พฤติกรรมและความคาดหวัง
ข้อดี
2.ใช้ประโยชน์ได้กว้าง
3.มีประสิทธิภาพในการศึกษา
1.มีความยืดหยุ่น
รูปแบบ
แบ่งตามขอบเขตของคำถามการวิจัย
การสำรวจเบื้องต้น
การสำรวจเชิงพรรณนา
แบ่งตามขอบเขตประชากร
การสำรวจจากประชากรทั้งหมดหรือการสำรวจสำมะโน
การสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง
ความหมาย
เป็นรูปแบบการวิจัยดั้งเดิมที่นิยมใช้มากที่สุดในสาขาสังคมศาสตร์ และทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
อย่างไรก็ตามยังมีงานวิจัยเชิงสำรวจจำนวนไม่น้อยที่นักวิจัยดำเนินการอย่างไม่รอบคอบรัดกุม
จึงนำมาสู่ทัศนะเชิงลบต่อการวิจัยเชิงสำรวจ ว่าเป็นงานวิจัยที่มีคุณค่าน้อย ไม่น่าเชื่อถือ
แต่งานวิจัยเชิงสำรวจยังคงเป็นแบบการวิจัยหนึ่งที่ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
2.การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
จุดมุ่งหมาย
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์รพหว่างตัวแปรต่างๆในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง นอกจากนี้
ยังมุ่งทำนายหรือคาดการณ์ในเรื่องนั้นๆโดยอาศัยข้อมูลความสัมพันธ์
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
แนวคิดเรื่องความสัมพันธ์
แนวคิดเรื่องการทำนาย
รูปแบบการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แคนอนิคัล
ความหมาย
เป็นการวิจัยที่ศึกษาปรากฎการณ์ทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรอย่างหลากหลาย
ตามสภาพการณ์ตามภาวะที่เป็นอยู่ โดยไม่มีการจัดกระทำกับตัวแปรใดโดยใช้วิธีวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ทางสถิติ เพื่อช่วยให้นักวิจัยอธิบายความเกี่ยวข้องระหว่างตัวแปรได้ชัดเจน
3.การวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
แนวคิด
มีลักษณะเป็นการวิจัยเลียนแบบการทดลอง ศึกษาโดยใช้การสังเกตุและรวบรวมข้อมูล
ตามสภาพที่เป็นอยู่โดยไม่จัดกระทำกับตัวแปร จึงเป็นเพียงความสัมพันธ์ในเชิง
เกี่ยวข้องกัน จึงจัดเป็นเพียงการวิจัยเชิงบรรยสยประเภทหนึ่ง ไม่ใช่การวิจัยเชิงทดลอง
จุดมุ่งหมาย
เพื่อมุ่งหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
รูปแบบการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ
รูปแบบกลุ่มเปรียบเทียบ
รูปแบบความสัมพันธ์ร่วม
ความหมาย
เป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับนักวิจัยที่มุ่งค้นหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุมีลักษณะเป็นการวิจัยที่เลียนแบบ
การทดลอง ศึกษาโดยใช้การสังเกตและรวบรวมข้อมูลตามสภาพที่เป็นอยู่โดยไม่จัดกระทำกับตัวแปรใด
3.การวิจัยเชิงปริมาณแบบการทดลองและ
แบบกึ่งการทดลองในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยเชิงปริมาณแบบการทดลองขั้นต้น
การนำการวิจัยเชิงทดลองไปใช้
กำหนดตัวแปรต่างๆ
การเปรียบเทียบ posttest
วิธีการสุ่ม
แบบแผนการทดลองขั้นต้น
One-Shot Case Study
One-Group Pretest Pottest Design
Static Group Comparison
การวิจัยเชิงปริมาณแบบกึ่่งการทดลอง
แผนการทดลองกึ่งการทดลอง
Time Series Design
Multiple Time Series Design
Quasi-Equivalent Control Grop Design
การวิจัยเชิงปริมาณแบบการทดลองจริง
แผนการทดลอง
Posttest-Only Control Group Design
Pretest Posttest Control Group Design
Solomon Four Group Design