Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
กระบวนการทัศน์หลักทางการพยาบาล
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นธรรม
ทฤษฎีอภิทฤษฎี (meta-theory)
ทฤษฎีระดับกลาง (middle rang theory)
ทฤษฎีระดับกว้าง (grand theory)
ทฤษฎีระดับปฏิบัติ (practice theory)
พัฒนาการของทฤษฎีทางการพยาบาล
ระยะปี ค.ศ.1960-1970
ค.ศ. 1964 Lindia Hall สร้างทฤษฎีชื่อ Core Care and Cure Theory (เน้นปฏกิริยา ระหว่างร่างกาย)
ค.ศ. 1961 Jean Orlando สร้างทฤษฎีชื่อ Nursing Process Theory (เน้นการปฏิบัติการพยาบาล)
ค .ศ . 1970 Martha E. Rogers สร้างทฤษฎี Science of Unitary Human Being
ค .ศ . 1968 Dickoff & James ทฤษฎีการพยาบาลต้องเป็นทฤษฎีในระดับสูงสุดคือ เป็นทฤษฎีในระดับ สร้างสถานการณ์ (Situation– producingtheory)
ระยะปี ค.ศ. 1971-1980
ค.ศ. 1971 Dorothea E. Orem สร้างทฤษฎีชื่อ Self-care Theory
ค.ศ. 1974 Sister Callisto Roy สร้างทฤษฎีชื่อ Roy’s Adaptation model
ค.ศ. 1978 Jean Watson สร้างทฤษฎีชื่อ Transpersonal Caring
ค.ศ. 1980 Betty Neuman สร้างทฤษฎีชื่อ System Model
ค.ศ. 1978Madeleine Leinnger สร้างทฤษฎีชื่อ Transcultural nursing Theory
ระยะปี ค.ศ. 1981-ปัจจุบัน
ระยะหลัง
เน้นพัฒนาทฤษฎีขึ้นมาใหม่พัฒนาระบบสารสนทศ
ทางการพยาบาล เพื่อเผยแพร่ความรู้
ระยะแรก
เน้นที่การนําเอาทฤษฎีต่างๆ ที่ถูกสร้างขึ้นนมาแล้ว
มาทดลองปฏิบัติ/พิสูจน์ ข้อเท็จจริงตามข้อสมมุติฐาน
ระยะก่อนปี ค.ศ. 1960
ค.ศ. 1950 Environmental Theory : Nightingale
ค.ศ. 1955 Principles and Practice of Nursing :
Virginia
ค.ศ. 1952 มีการทำวิจัยทางการพยาบาลและมีวารสารวิจัยการพยาบาลเกิดขึ้น
ค.ศ. 1952 Interpersonal Relations in Nursing : Hildegard Peplau
ทฤษฎีทางการพยาบาล (nursing theory)
หมายถึง แก่นสาระความรู้ของชีพพยาบาลซึ่งมุ่งอธิบายธรรมชาติของคน สิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อบุคคล ภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วยของบุคคล
กระบวนทัศน์ (paradigm)
หมายถึง กรอบการมองหรือกรอบเค้าโครงแนวคิดหรือแบบอุดมคติหรือปรัชญาที่เป็นที่ยอมรับในกลุ่มวิชาชีพ
Meta paradigm
หมายถึง กรอบ ขอบเขต หรือโครงสร้างทางความคิดหรอมโนติในภาพรวมกว้างๆของศาสตร์ สาขาต่าง
หมายถึง ความรู้ ความคิด ความเชื่อ ในสิ่งที่เป็นพื้นฐานของพยาบาล
มโนมติของสิ่งแวดล้อม (Environment)
แบ่งได้เป็น 4 ประเภท
สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อมทางเคมี
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
มโนมติภาพของคน
คน
จิตหรือจิตใจ
สังคม
กายหรือร่างกาย
คนเป็นระบบเปิด
คนมีความต้องการพื้นฐาน
คนมีความต้องการภาวะสมดุล หรือภาวะปกติ
ความต้องการดำรงภาวะสมดุล
ความต้องการปรับสู่ภาวะสมดุล
คนมีสิทธิของตน
คนมีพัฒนาการ
คนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
คนมีความต้องการพื้นฐาน
ความต้องการความปลอดภัย
ความต้องการความพอใจตนเอง
ความต้องการความภาคภูมิใจและความมีศักดิ์ศรี
ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ
ความต้องการความรัก ความผูกพัน
มโนมติของสุขภาพ (Health)
องค์กรอนามัยโลก(who,1947) หมายถึงสภาวะที่มีความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและความพิการ
ไนติงเกล (nightingale,1860)
หมายถึง สภาวะที่ปราศจากโรคและสามารถใช้พละกำลังของตนเองได้
สุขภาพของคนจะประกอบด้วย 2 ภาวะ
เจ็บป่วย (illness)
ความเจ็บป่วยที่อาจมีสาเหตุเริ่มจากความผิดปกติของอวัยวะต่างๆในร่างกาย หรือความผิดปกติของจิตใจ
ภาวะสุขภาพดี (welless)
หมายถึง สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกติทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และวิญญาณ
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ ในมาตราที่ 3 หมายความว่าสุขภาพสุขภาวะที่สมบูรณ์และเชื่อโยงกัน ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณ
มโนมติภาพการพยาบาล (nursing)
การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
การพยาบาลที่ช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพดีหรือปรับสู่ภาวะสุขภาพดี
ประกอบด้วย
การดูแลรักษา
การส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกันโรค
การป้องกันระดับที่ 3 (tertiary prevention)
การป้องกันระดับที่ 2 (secondary prevention)
การป้องกันระดับที่ 1 (primary prevention)
การฟื้นฟูสภาพ
การพยาบาลโดยใช้กระบวนการในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
การประเมินสภาพ
การวางแผนการพยาบาล
การวินิจฉัยการพยาล
การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้ / ช่วยให้คนกลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย
การจำแนกทฤษฏีตามลักษณะการนำไปใช้
ทฤษฎีเชิงอุปนัย (Inductive nursing theories)
ทฤษฎีเชิงนิรภัย (Deductive nursing theories)
ทฤษฎีของคิง
ทฤษฎีการพยาบาลของนิวแมน
ทฤษฎีการพยาบาลของวัตสัน
ทฤษฎีการพยาบาลของรอย
ทฤษฎีการพยาบาลของไลนิงเจอร์