Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 การจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนากา…
หน่วยที่ 4
การจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
ปัจจัยภายในที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร ได้แก่ ตัวเกษตรกรและครอบครัว และลักษณะของระบบเกษตรหรือระบบฟาร์ม
ปัจจัยภายนอกที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร ได้แก่ แรงขับทางด้านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี
ความหมายและความสำคัญของการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
ความหมายของทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร หรือทรัพยากรในระบบเกษตร ภาคการเกษตรเป็นภาคการผลิตที่ต้องพึ่งพิงทรัพยากรต่างๆ ในการผลิต ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรมนุษย์ และทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการดำเนินการผลิตทางการเกษตร โดยสามารถจำแนกทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรหรือทรัพยากรในระบบการเกษตรได้ 3 กลุ่ม คือ ทรัพยากรทางกายภาพ ทรัพยากรทางชีวภาพ และทรัพยากรทางเศรษฐกิจสังคม
การพัฒนาที่ยั่งยืนเพื่อให้ประชาชนอยู่ดี มีสุขตลอดไปนั้น จะต้องมีการพัฒนาในมิติต่างๆ ที่สัมพันธ์กันอย่างสมดุล ทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
แนวคิดเรื่อง “ภูมิปัญญาชาวบ้าน”และ “วัฒนธรรมชุมชน”กับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร เป็นแนวคิดในการจัดการทรัพยากรที่ให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาชาวบ้าน หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่ชาวบ้านคิดขึ้นมา มีการเรียนรู้ และมีประสบการณ์สืบต่อกันมา
แนวคิดเรื่อง “สิทธิ”และ “กรรมสิทธิ์”กับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
แนวคิดเรื่อง “ระบบการผลิต”และ “ระบบการเกษตร” ที่มีต่อ “ระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ”กับการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร
แนวทางการจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรอย่างยั่งยืน
การส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างเหมาะสมและยั่งยืน
การนำแนวทางของระบบการเกษตรเชิงบูรณาการมาประยุกต์ใช้ในการผลิตทางการเกษตร
ระบบการเกษตร
สังคม
ตัวเกษตรกร
การนำแนวคิดของระบบการเกษตรเชิงบูรณาการมาประยุกต์ใช้ในการผลิตทางการเกษตรการ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างเหมาะสมและยั่งยืน
ความมั่นคงในการผลิต
ความต่อเนื่อง
ประสิทธิภาพการผลิต
เอกลักษณ์ความกลมกลืนทางสังคม
แนวทางของระบบการเกษตรเชิงบูรณาการเพื่อการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรใช้
ทรัพยากรการผลิตอย่างเหมาะสมและยั่งยืน
สัตว์
การผลิตพืช
ป่าไม้
ปุ๋ยอินทรีย์
การหมักย่อยสลายของสารอินทรีย์
การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ
ระดับครัวเรือน
การให้ความสำคัญกับความหลากหลายทางชีวภาพในระบบการเกษตร
การรักษาความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรต่างๆ พื้นที่ และระบบการผลิตพืช
การเพิ่มประสิทธิภาพของพื้นที่ปลูก
การลดระดับการใช้สารเคมีในการเกษตร
การรักษาระดับของสภาพแวดล้อมให้เอื้ออำนวยต่อการผลิตพืช
ระดับชุมชน
การทำความเข้าใจ สร้างความตระหนัก กับคนในชุมชน ให้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ
การมีกฎระเบียบการดูแลรักษาทรัพยากร ที่เป็นธรรม และคนชุมชนให้การยอมรับ
การเคารพ และปฏิบัติตามกฎระเบียบที่ชุมชนกำหนด
คนในชุมชนต้องรู้จักดูแลรักษาการเก็บของป่าและทรัพยากรต่างๆ อย่างถูกวิธี
มีการตรวจตราป้องกันรักษาร่วมกัน
มีคณะกรรมการและแบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในเรื่องต่างๆ ให้ชัดเจน
มีแผนการดำเนินการต่างๆ ที่ชัดเจน และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
ต้องมีการทบทวน ปรับปรุง กฎระเบียบแบบแผน การดำเนินงานในการจัดการทรัพยากร
ระดับเครือข่าย/ประเทศ
การสร้างความร่วมมือและประสารความร่วมมือกับชุมชนอื่น
การกำหนดกิจกรรมการดำเนินงานร่วมกันระหว่างสมาชิกเครือข่าย
กิจกรรมของเครือข่ายต้องก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อสมาชิกส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
การเชื่อมโยงระหว่างเครือข่ายอาจกระทำภายใต้โครงสร้างความสัมพันธ์อย่างชัดเจน หรืออาจเป็นการรวมกันอย่างหลวมๆ เฉพาะกิจกรรมที่จำเป็น
การกำหนดผู้แทน หรือคณะทำงานเครือข่าย
การขยายเครือข่าย และสร้างความเข้าใจกับประชาชน
การส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรการเกษตรและโครงสร้างพื้นฐานการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ยุทธศาสตร์พัฒนาทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ สมดุลและยั่งยืน ตามแผนพัฒนาการเกษตร พ.ศ.2555-2559 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรการเกษตรและโครงสร้างพื้นฐานการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างเหมาะสมและยั่งยืน
สนับสนุนและผลักดันให้เกษตรกรมีส่วนร่วมในการบริการจัดการทรัพยากรการเกษตร
เตรียมความพร้อมรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและวางระบบการป้องกันและบรรเทาปัญหาภัยธรรมชาติ
พัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรเพื่อความยั่งยืน
แนวคิดเกี่ยวกับการส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรเพื่อความยั่งยืน
แนวคิดการมีส่วนร่วม เป็นแนวคิดที่มองว่ายุทธศาสตร์การพัฒนาด้านต่างๆ จะต้องให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง
แนวคิดการสร้างองค์กรชาวบ้าน เป็นแนวคิดที่มุ่งสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาศักยภาพของชุมชน ด้วยการพัฒนาคนควบคู่ไปกับการก่อตั้งกลุ่มหรือองค์กรขึ้นมาเพื่อเป็นฐานในการทำกิจกรรมต่างๆ
แนวคิดไตรภาคี เป็นการร่วมมือระหว่างภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรชาวบ้าน
แนวคิดพหุภาคี เป็นการประสานความร่วมมือของกลุ่มพลังต่างๆ ในชุมชนมากกว่า 3 กลุ่มขึ้นไป
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรเพื่อความยั่งยืน
ปัจจัยภายในชุมชน
ผู้นำชุมชน
ความเข้มแข็งของชุมชน
สมาชิกชุมชน
ปัจจัยภายนอกชุมชน
การสนับสนุนด้านงบประมาณ
ข้อมูลข่าวสารทางวิชาการ
แนวทางการส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรเพื่อความยั่งยืน
การจัดการทรัพยากรโดยชุมชนภายใต้การสนับสนุนของรัฐ
เช่น การรับรองสิทธิ์ในระดับต่างๆ ได้แก่ สิทธิใช้สอยชุมชน การรับรองสิทธิเครือข่าย นส.3 โฉนด สิทธิทำกิน ตลออดจนการสนับสนุนให้ชุมชนทำการจัดสรรทรัพยากรดิน น้ำ ป่า และควบคุมการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรตามมาตรการที่ได้กำหนดไว้
รัฐสนับสนุนให้ชุมชนจัดการทรัพยากรของตนเอง
รัฐได้ยอมรับภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดการทรัพยากร และได้กระจายอำนาจการตัดสินใจให้กับชุมชน
91724 การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร นางสาวธนาภรณ์ ระดมเล็ก 2649002363