Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเษตรกร, 91724…
หน่วยที่ 6
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเษตรกร
แนวคิดเกี่ยวกับภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกร
การเกิด การสืบทอดและการจำแนกภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากร
ขั้นตอนการเกิดและการสืบทอด
การสั่งสมความรู้เดิม
การพัฒนาเลือกสรรและปรับปรุงองค์ความรู้ใหม่
การนำองค์ความรู้ที่พัฒนาเลือกสรรและปรับปรุงแล้วไปใช้ในการแก้ปัญหา
การถ่ายทอด/สืบทอดองค์ความรู้ในเรื่องนั้นแก่บุคคลอื่น
การพัฒนาและปรับปรุงภูมิปัญญาที่กำลังใช้อยู่ให้สามารถแก้ปัญหาใหม่ได้
การจำแนกลักษณะของภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกร
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรที่เป็นความรู้ และทักษะของเกษตรกร
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรที่เป็นความเชื่อและพฤติกรรม ในการจัดการทรัพยากรเพื่อการผลิตและการอนุรักษ์ของเกษตรกร
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากร
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรที่เป็นเรื่องของการแก้ปัญหา การจัดการ การปรับตัว การเรียนรู้ เพื่อความอยู่รอดของบุคคล ชุมชนและสังคม
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรที่เป็นประดิษฐกรรมหรือเครื่องมือ
การใช้ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากร
การอนุรักษ์ การบำรุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้
การฟื้นฟู ให้กลับมาเป็นประโยชน์
การประยุกต์ ให้เหมาะสมกับสมัยใหม่
การสร้างใหม่ ที่สัมพันธ์กับความรู้ดั้งเดิม
ความหมายและความสำคัญของภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากร
ความหมาย
ความรู้ ความคิด ความเชื่อ ความสามารถ หรือประสบการณ์ดั้งเดิมของเกษตรกรในการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพต่อสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ ทั้งในด้านการจัดหา การใช้อย่างประหยัด การดูแลรักษา ปกป้อง คุ้มครอง อนุรักษ์ ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาตินั้นให้สามารถให้ผลได้อย่างยาวนาน
ความสำคัญ
แสดงถึงความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกันระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อม สัตว์ พืช ในธรรมชาติ
แสดงถึงความสัมพันธ์ของคนกับคนอื่นๆ ที่ร่วมกันในสังคมหรือในชุมชนรวมไปถึงภายนอกชุมชน
เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมาให้ลูกหลาน
มีความสำคัญต้อการพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืน
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรประเภทต่างๆ ของเกษตรกร
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า
เป็นความรู้ ความสามารถของเกษตร
การสร้างภูมินิเวศของชุมชนอีสาน
การจำแนกทรัพยากรป่าไม้ของเกษตรกรอีสาน
การกำหนดกฎระเบียบในการใช้ทรัพยากรของท้องถิ่น
การจัดทำระบบวนเกษตร
เป็นความเชื่อ และพฤติกรรมที่แสดงออกในสังคม
ฮีต คอง ผญาภาษิต คำสอนและขะลำ กับการจัดการทรัพยากรป่าไม้
การจัดการป่าชุมชนดั้งเดิมหรือป่าวัฒนธรรม
พิธีการบวชต้นไม้
การเลือกปลูกต้นไม้ในบริเวณบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับการออกดอกออกผลของต้นไม้
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรน้ำ
เป็นความเชื่อ และพฤติกรรมที่แสดงออกในสังคม
การเลี้ยงผีขุนน้ำ
การร้องเหมือง
การสืบชะตาแม่น้ำหรือขุนน้ำ
พิธีบุญบั้งไฟ
การแห่นางแมวขอฝน
พิธีกรรมชักพระหรือการลากพระ
เป็นความรู้ ความสามารถของเกษตร
ระบบเหมืองฝายในภาคเหนือ
เทคโนโลยีเพื่อการผลิต
การจัดการทรัพยากรน้ำธรรมชาติและน้ำจากโครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้าในภาคอีสาน
การขุดตระพังและบ่อน้ำ
ประดิษฐกรรมเครื่องมือพื้นบ้าน
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรดินและที่ดิน
เป็นความรู้ ความสามารถของเกษตร
การจัดระบบการปลูกพืช เช่น การทำเกษตรอินทรีย์ การทำเกษตรธรรมชาติ การปลูกพืชหมุนเวียน การทำการเกษตรผสมผสาน
เทคนิค วิธีการต่างๆ ในการปลูกพืช เช่น การปลูกพืชตามขั้นบันได การปรับปรุงบำรุงดินโดยอินทรีย์สารตามธรรมชาติ การปลูกพืชคลุมดินและการใช้วัสดุคลุมดิน การทำไร่หมุนเวียนของชุมชนบนพื้นที่สูงภาคเหนือ เทคนิค วิธีการในการจำแนกดิน และการทำคันนา
เครื่องมือทางการเกษตร เครื่องมือทางการเกษตรที่เป็นที่รู้จัก คือ จอบ คราด เสียม เป็นต้น
เป็นความเชื่อ และพฤติกรรมที่แสดงออกในสังคม
ภูมิปัญญาในการจำแนกพื้นที่ดินเพื่อใช้ประโยชน์
ภูมิปัญญาในการเลือกยุทธภูมิของคนอีสาน
ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับการจัดระบบกรรมสิทธิ์ในที่ดิน
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรประมง
เป็นความรู้ ความสามารถของเกษตร
ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับทะเล ฤดูกาลและสัตว์น้ำ
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรประมงที่เป็นประดิษฐกรรมและเครื่องมือ
เป็นความเชื่อ และพฤติกรรมที่แสดงออกในสังคม
ความเชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติของชาวประมงพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับทรัพยากรในทะเล
พิธีกรรมในการทำขวัญเรือ
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกร
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกรระดับครัวเรือน
ภูมิปัญญาของเกษตรกรที่ถูกนำมาใช้ในการทำการผลิตทางการเกษตร และการอนุรักษ์ทรัพยากรเพื่อให้มีใช้อย่างยั่งยืน เรียกกันว่า ผู้รู้ชาวบ้าน
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกรระดับชุมชน
การจัดการทรัพยากรระดับชุมชน ต้องตั้งอยุ่บนพื้นฐานกระบวนการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน และขยายฐานสนับสนุนในชุมชนในการจัดการทรัพยากร ที่ได้มาโดยการเสริมสร้างศักยภาพในการคิด การใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการและแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรของเกษตรกรระดับองค์กรและเครือข่าย
การที่จะนำเอาทรัพยากรมาใช้ในการดำรงชีวิต บางครั้งเกษตรกรไม่สามารถทำได้เพียงลำพัง จึงได้สร้างระเบียบ กฎเกณฑ์ ประเพณี และพิธีกรรมต่างๆขึ้น ซึ่งนับเป็นภูมิปัญญาเกษตรกร ที่เอื้อให้เกิดการช่วยเหลือและการอยู่ร่วมกันระหว่างผู้คน การอยู่ร่วมกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติในขณะนั้น และพัฒนาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัยอย่างต่อเนื่อง จนเกิดเป็นองค์กรหรือเครือข่าย
91724 การจัดการทรัพยากรเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร นางสาวธนาภรณ์ ระดมเล็ก 2649002363