Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 สถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 8 สถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
8.1 การใช้สถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ในการวิจัยเชิงความสัมพันธ์
ประเภท
การวิจัยเปรียบเทียบผลเพื่อศึกษาเหตุ
การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์
การศึกษารายกรณี
ในการวิจัยเชิงพัฒนา
รูปแบบ
งานวิจัยเพื่อเตรียมรองรับปัญหาในระยะปานกลางและระยะยาว
งานวิจัยและพัฒนาซึ่งนำไปสู่การสร้างผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม
งานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
งานวิจัยเพื่อขยายผลในงานวิจัย
ขั้นตอน
ขั้นตอนการพัฒนา
การพัฒนาต้นแบบ
ทดลองหรือทดสอบผลิตภัณฑ์
ขั้นตอนการวิจัย
กำหนดวัตถุประสงค์
การวางแผนหรือออกแบบ
การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมมูล
ขั้นตอนการเผยแพร่และส่งเสริม เป็นการเสนอรายงานเกี่ยวกับผลการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์
ในการวิจัยเชิงสำรวจ
ความหมาย/วัตถุประสงค์
เพื่อพรรณนาหรือบรรยาย
ค้นหาสาเหตุและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เพื่อค้นคว้าสำรวจ
ประเภท
จำแนกตามระยะเวลาในการวิจัย
จำแนกตามกลุ่มที่ทำการวัดในการวิจัย
จำแนกตามวัตถุประสงค์การสำรวจ
จำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
สถิตินอนพาราเมตริกเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สถิตินอนพาราเมตริกสำหรับวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่าง 2กลุ่ม
สถิตินอนพาราเมตริกสำหรับวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่ม
สถิตินอนพาราเมตริกสำหรับวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างเดียว
8.2 ประเภทของสถิติพรรณนาเพื่อการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวัดการกระจายข้อมูล คือ ความแตกต่างของข้อมูลในชุดหนึ่งๆว่ามีมากน้อยเพียงใด การวัดการกระจายจึงเป็นการวัดการกระจายชุดใหญ่ชุดหนึ่งว่าแตกต่างจากค่ากลางของข้อมูลมากน้อยเพียงใดถ้าพิจารณาจากค่าเฉลี่ยเพียงอย่างเดียว เช่น พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
การแจกแจงความถี่ คือ การสรุปหรือแจกแจงลักษณะของตัวแปรในกลุ่มที่ศึกษา ซึ่งอาจทำการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างหรือประชากรกลุ่มอื่นซึ่งแตกต่างจากสถิติอ้างอิง
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง คือ เป็นการหาค่ากลางของข้อมูลเพื่อใช้เป็นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมด เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูลแต่ละชุด เช่น ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม