Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนมติของคน (Man)
1.คน
กายหรือร่างกาย
โครงสร้างและหน้าที่การทำ งานของร่างกายของบุคคล
จิต หรือจิตใจ
อารมณ์เเละความรู้สึก
จิตวิญญาณ
สติปัญญา/ความคิด
สังคม
เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่น ๆ รอบตัว
สัมพันธภาพแต่ละบุคคล
แต่ละบุคคลจะปฎิบัติต่อบุคคลอื่นอย่างไรนั้น
ขึ้นอยู่กับตำเเหน่งที่ตนดำรงอยู่ในขณะนั้นเป็นสำคัญ
2.คนเป็นระบบเปิด
ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งเเวดล้อมตลอดเวลา
การรับ/การให้เกิดขึ้นได้ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สังคม
การให้การรับอาจไม่เกิดต่อเนื่อง
บางครั้งให้โดยไม่มีการรับ
3.คนมีความต้องการพื้นฐาน
ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ (Physical needs)
ความต้องการความปลอดภัย (Safety and security)
ความต้องการความรัก ความผูกพัน (Affiliation)
ความต้องการความภาคภูมิใจเเละความมีศักดิ์ศรี (Self-esteem)
ความต้องการความพอใจตนเอง (Self-actualization)
4.คนมีพัฒนาการ
การพัฒนาการเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพ
พัฒนาการจะเป็นไปอย่างต่อเนื่องตั้งเเต่ เกิด - วัยชรา
เเบ่งออกเป็น ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์สังคม ด้านสติปัญญา เเละด้านคุณธรรม
พัฒนาการจะมีความต่อเนื่อง พัฒนาการเเต่ละด้านจะมีลักษณะเฉพาะ
5.คนมีตวามต้องการภาวะสมดุล หรือภาวะปกติ
คนมีความต้องการภาวะสมดุล หรือภาวะปกติ
เมื่อเกิดภาวะเสียสมดุลก็จะพยายามปรับสู่สมดุล
กระบวนการที่ดำรงภาวะสมดุล/ปรับสมดุล กระบวนการปรับตัวหรือกลไกลการต่อสู้เพื่อสมดุล
ความต้องการปรับสู่ภาวะสมดุล
ความต้องการดำรงภาวะสมดุล (Homeostasis)
6.คนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันแต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
คนแต่ละคนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันทุกคน
คนแต่ละคมีลักษณะเฉพาะของตนเอง
ปัจจัยที่ทำให้แต่ละคนเป็นปัจเจกบุคคล
7.คนมีสิทธิของตน
สิทธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง
สิทธิในการได้รับการคุ้มครองตามกฏหมาย
สิทธิในการได้รับการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
8.คนมัสักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
การช่วยตนเองในกิจวัตรประจำวัน
การเเก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
มโนมติของสิ่งแวดล้อม (Environment)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ความร้อน แสง เสียง รังสี
อากาศ ดนิ น้ำ ลม
ที่พักอาศัย สิ่งก่อสร้างต่างๆ
สิ่งเเวดล้อมทางชีวภาพ
พืช สัตว์ เล็กจนมองไม่เห็น - ใหญ่โตกว่าตน
เเบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต ต้นพืชชชนิดต่างๆ วัว ควาย สุนัข
สิ่งเเวดล้อมทางเคมี
สารเคมีทุกชนิด ทั้งอาหาร และยา
มาขากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีก็ได้
สิ่งเเวดล้องทางสังคมเศรษฐกิจ
บุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันเเละกัน มีบทบาทหน้าที่ต่อกัน
บุคคลในครอบครัวต่างก็เป็นสิ่งเเวดล้อมซึ่งกันเเละกัน
สังคมที่ใหญ่กว่าครอบครัว ได้เเก่ระดับต่างๆ ตั้งเเต่ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ประเทศ
เป็นนามธรรม ไม่สามารถสัมผัสได้ เเต่มีผลต่อพฤติกรรมของคน
คือ ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณี กฏหมาย ศาสนา
อากาศบริสุทธิ์มีส่วนช่วยทำให้คนมีร่างกานที่เเข็งเเรง
มโนมติของสุขภาพ (Health)
สุขภาพมีลักษณะเป็นนามธรรม
สุขภาพของคนประกอบด้วย 2 ภาวะ
ภาวะสุขภาพดี (Wellness)
ไนติงเกล (Nightingale, 1860)
สภาวะที่ปราศจากโรถเเละสามารถใช้พละกำลังของตนได้เต็มความสามารภ
องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947)
สภาวะที่มีความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ เเละสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947)
สภาวะที่ร่างกายมีความสมบูรณ์ทั้งร่างหาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
เจ็บป่วย (Illness)
สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกติทางด้านร่างกาย จิตใจ สังม เเละจิตวิญญาณ
อาจเปลี่ยนด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายๅด้าน
ทำหน้าที่บกพร่องหรือน้อยลงกว่าปกติ
คนส่วนมากมักมีความบกพร่องทางสุขภาพบ้างไม่มากก็น้อย
เกิดขึ้นตั้งเเต่เเรกเกิด - วัยชรา
สุขภาพมัลักษณะเป็นพลวัตรและต่อเนื่อง
ภาวะสุขภาพของคนก็มีความต่อเนื่องกัน
คนบางคนอาจป่วยหนักตั้งเเต่เเรกเกิดและเสียชีวิต
สภาพจิตใจที่เปลี่ยนเเปลงตามสภาพเเวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ทำให้สุขภาพเปลี่ยนแปลง
มโนมติของการพยาบาล (Nursing)
การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
ในทุกวัยตั้งแต่เเรกเกิดจนถึงวัยสูงอายุ
เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้/ช่วยให้คนกลับสู่สภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย
การพยาบาลที่จะช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพดี
การส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนใหญ่เป็นการช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพ
การป้องกันโรค
การป้องกันระดับที่ 1 (primary prevention)
การป้องกันระดับที่ 2 (secondary prevention)
การป้องกันระดับที่ 3 (tertiary prevention)
การดูเเลรักษา
ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินชีวิตใหม่
การปฏิบัตอของพยาบาลจะมุ่งเน้นการบำบัด
จะต้องรู้จักใช้ศิลปะในการติดต่อสื่อสาร
การฟื้นฟูร่างกาย
ออกจากภาวะผู้ป่วยสู่ภาวะปกติ
มีการฟื้นฟูสภาพร่างกายหลังการเจ็บป่วยให้ดีขึ้น
ให้กำลังใจ ให้ความหวัง ชื่นชมเเละยกย่องผู้ป่วย
การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
ต้องเป็นกระบวนการที่เป็นพลวัตรต่อเนื่องสัมพันธ์กัน
การพยาบาลจะสิ้นสุดเมื่อผู้รับบริการได้รับการตอบสนอง/หรือเเก้ไขปัญหาเเล้ว
การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
ช่วยเหลือผู้รับบริการ
ถ้าขาดการพยาบาลที่มีคุณภาพ อาจส่งผลให้คนไม่สามารถดำรงภาวะสุขภาพดีไว้ได้
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนมติพื้นฐานของคน สิ่งเเวดล้อม สุขภาพเเละการพยาบาล จะมีความสัมพันธ์กัน
คนอยู่ในสิ่งเเวดล้อม จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งเเวดล้อมอยู่ตลอดเวลา
บางครั้วปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งเเวดล้อมอาจจะไม่สามารถปรับให้อยู่สภาวะสมดุลเเล้ว
จุดมุ่งหมายคือช่วยเหลือคนให้คงสภาวะสมดุล
การพยาบาลมีความครอบคลุมในทุกสภาวะของคน
ความสำคัญของมโนมติพื้นฐานทางการพยาบาล
พื้นฐานของการพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาล
พื้นฐานของการวิจัยทางการพยาบาล
พื้นฐานของการจัดการศึกษาพยาบาล
พื้นฐานของการปฏิบัติการพยาบาล
เเนวคิดภาวะสุขภาพ การเจ็บป่วยเเละการพยาบาล
สุขภาพดีจะช่วยให้พัฒนาการทางด้านต่างๆเป็นไปด้วยดี
ต้องมีการเรียนรู้เพื่อให้สุขภาพตนเองดีอยู่เสมอ
ความเจ็บป่วย (illness)
สภาวะที่มีการเปลี่ยนเเปลง ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ทำให้บกพร่องในกระบวนการทำงาน
ความเจ็บป่วยอสจไม่เกี่ยวกับการเป็นโรค
การบ่งบอกว่าอยู่ในสภาวะเจ็บป่วยหรือสภาวะปกติบางครั้งอาจไม่เด่นชัด
ถ้ามีความเจ็บป่วยด้านใดด้านหนึ่งจะส่งผลต่อด้านอื่นตามมา
หากบุคคลนั้นพอใจในสภาพการณ์ที่เป็นอยู่เเละสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข ถือว่ามีสุขภาพดี
มโนทัศน์และทฤษฏีทางการพยาบาล
ทฤษฎ๊ทางการพยาบาล ( Nursing Theory )
แก่นสาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาล ซึ่งอธิบายธรรมชาติของคน สิ่งเเวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อบุลคล
กระบวนทัศน์ ( Paradigm )
กรอบการมองเเละกรอบเค้าโครงเเนวคิด หรือแบบอุดมคติ หรือปรัชญาที่ยอมรับในกลุ่มวิชาชีพ
Metaparadigm
กรอบ ขอบเขต หรือโครงสร้างทางความคิดหรือมโนมติในภาพรวม
กรอบเเนวคิด
กลุ่มของมโนทัศน์ที่สัมพันธ์กันเป็นภาพรวมของปรากฏการณ์ หรือความจริงที่ช่วยให้เห็นจุดเน้นของความคิด
ลักษณะพื้นฐานของทฤษฎี
สามารถเเสดงความสัมพันธ์ ระหว่างมโนทัศน์ให้เข้าใจปรากฎการณ์
ลำดับเหตุการณ์ของเหตุผลตามหลักตรรกวิทยา
สมมติฐานสามารถตรวจสอบได้
นำไปใช้เเละปรับปรุงตามเเนวปฏิบัติ
จำเเนกตทฤษีตามลักษณะการนำไปใช้
ทฤษฎีเชิงนิรนัย (Deductive nursing theories)
ทฤษฎีเชิงอุปนัย (Inductive nursing theories)
จำเเนกตทฤษีตามลักษณะระดับความเป็นนามธรรม
1 ทฤษฎีอภิทฤษฎี (Meta – theory)
2 ทฤษฎีระดับกว้าง (Grand theory)
3 ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Rang theory)
4 ทฤษฎีระดับปฏิบัติ (Practice theory)
ประโยชน์ของทฤษฎีต่อการปฏิบัติการพยาบาล
เป็นเเนวทางในการนำกระบวนการพยาบาลมาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
แสดงถึงความเป็นเอกสิทธิ์ในวิชาชีพการพยาบาล (Autonomy)
พัฒนาการของทฤษฎีทางการพยาบาล
ก่อนปี ค.ส.1960
ค.ศ.1950 Environmental Theory : Nightingale
ค.ศ.1952 Interpersonal Relations in Nursing : Hildegard Peplau
พื้นฐานของทฤษฎีจากเเนวคิดจิตวัทยา สังคมศาสตร์
วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษศาสตร์ เเละพฤติกรรมศาสตร์
ปี ค.ศ.1960-1970
Lindia Hall
สร้างทฤษฎี Core Care and Cure Theory
Martha E. Rogers
สร้างทฤษฎี Science of Unitary Human Being
Jean Orlando
สร้างทฤษฎี Nursing Process Theory
ปี ค.ศ.1971-1980
Dorothea E. Orem
สร้างทฤษฎี Self - care Theory
Sister Callista Roy
สร้างทฤษฎี Roy’s Adaptation model
Madeleine Leininger
สร้างทฤษฎี Transcultural nursing Theory
Jean Watson
สร้างทฤษฎี Transpersonal Caring
Betty Neuman
สร้างทฤษฎี System Model
ปี ค.ศ.1981-ปัจจุบัน
ระยะเเรก
เน้นเอาทฤษฎีต่างๆมาทดลองปฏิบัติ/พิสูจน์
ระยะหลัง
เน้นพัฒนาทฤษฎีใหม่เพื่อพัฒนาระบบสาระสนเทศทางการพยาบาล