Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6 แบบแผนสุขภาพ (Functional health patterns) - Coggle Diagram
บทที่6 แบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ความหมายของแบบแผนสุขภาพ
แบบแผน
พฤติกรรมของบุคคลที่ต่อเนื่องกันในช่วงเวลาหนึ่ง
แบบแผนสุขภาพ
พฤติกรรมด้านสุขภาพของบุคคลซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลา
หนึ่ง และมีผลต่อสุขภาพ
องค์ประกอบของแบบแผนสุขภาพแต่ละแบบแผน
1.พฤติกรรมภายใน
พฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าหรือใช้เครืองมือทางวิทยาศาสตรต์รวจสอบได้โดยตรง
พฤติกรรมภายนอก
คือการกระทำที่แสดงออกมาให้สังเกตเห็นได้ รับรู้ได้ หรือใช้เครื่องมือตรวจสอบได้ เช่น พฤติกรรมที่เป็นคำพูด
3.ปัจจัยส่งเสรมิพฤตกิรรมและอปุสรรค
พฤติกรรมภายนอกและพฤตกิรรมภายในจะมี ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
การรวบรวมข้อมูล
1.ข้อมูลอัตนัย(Subjectivedata)
การซักประวัติจากผู้รับบริการหรือญาติ(ในกรณีที่
ผู้รับบริการไม่สามารถให้ข้อมูลได้หรือให้ข้อมูลได้ไม่ครอบคลุม)
Ex. ผู้รับบริการชอบกินข้าวเหนียววันละ3ม้ือชอบกินอาหารรสจัดโดยเฉพาะส้มตำ
2.ข้อมูลปรนัย(Objectivedata)
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต/การตรวจร่างกายการ ตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
Ex. ท่าทางเหนื่อยอ่อนเพลียขอบตาดาคล้าหาวนอนบ่อยๆ
1.แบบแผนการรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ
(Health Perception-Health Management Patterns)
-เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความคิด ความเข้าใจของบุคคลต่อภาวะสุขภาพ โดยทั่วไปของตนเองและของผู้ที่ตนรับผิดชอบ ว่าถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ และมีความคาดหวังต่อภาวะสุขภาพหรือการรักษาอย่างไร
การซักประวัติ
-การตรวจร่างกายประจำปี
-การได้รับภูมิคุ้มกัน
-การรับประทานยาเป็นประจำและเหตุผลที่รับประทานยา
การตรวจร่างกาย
-ความสะอาดของร่างกาย เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย
ลักษณะทั่วไปและความพิการ เช่น ท่าทางการเดินการลุกนั่งการ
เคลื่อนไหวแขนขาการพดูคุยการแสดงสีหน้า
-ความร่วมมือในการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยหรือครอบครัว
ตัวอย่างคำถาม
-ทราบไหมว่าเป็นโรคอะไรทราบวิธีการดูแลตนเองหรือไม่ถ้าทราบดูแลตนเองอย่างไร
-เมื่อเจ็บป่วย/บาดเจ็บผู้ป่วยปฏิบัติอย่างไร
-เคยรักษาแบบพื้นบ้านหรือไม่เคยรักษาด้วยวิธีการใดบ้าง
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย
ภาวะสุขภาพของตนเองก่อนการเจ็บป่วยครั้งนี้เป็นอย่างไร :สุขภาพร่างกายแข็งแรงดีสามารถเดินไปทำกิจวัตรประจำวันได้ปกติ
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย
สภาพร่างกาย อารมณ์และจิตใจโดยทั่วไป:ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ท่าทางอ่อนเพลียเป็นคนอารมณ์ดีจิตใจดี ชอบช่วยเหลือผู้อื่น
2.แบบแผนด้านโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร (Nutritional-Metabolism Patterns)
ประเมินพฤติกรรมการรับประทานอาหารโดยพิจารณาความสอดคล้อง กับอาหารที่ควรได้รับและนา้หนักตัว
การซักประวัติ
แบบแผนเกี่ยวกับบริโภคนิสัยและแบบแผนการดำเนินชีวิต(lifestyle)
-อุปนิสัยในการรับประทานอาหารกินอาหารเป็นเวลาหรือไม่รับประทานเก่งหรือชอบกินจุบกินจิบหรือไม่
-ประวัติการเป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารเช่นมีแผลหรือโรคภายในช่องปากฟันผุโรค กระเพาะอาหารหรือลไส้อับเสบ โรคตับ ตับอ่อน ถุงนำ้ดีและโรคอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ ทางเดินอาหาร
-ชนิดและปริมาณน้ำที่ดื่มในหนึ่งวัน
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤตกิรรมการรบัประทานอาหารปริมาณและลกัษณะอาหารที่รบัประทาน
-ตรวจสภาพของผิวหนงัและเยอื่บวุ่าซีดหรอืไม่โดยสังเกตสขีองผิวหนงัริมฝีปากเยื่อบตุา (Conjunctiva) ตาขาว ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
-เยื่อบปุากและแผลในชอ่งปากคอฟันผุเหงือกอกัเสบทอนซิลแดงโตหรอืไม่
ตัวอย่างคำถาม
-ปกติอาหารที่รบัประทานคอือะไร(มอื้เชา้กลางวันเย็น)
-น้าที่ดื่มเป็นประจามอี ะไรบา้ ง ปริมาณเท่าใด
-ในช่วง1เดือนที่ผ่านมามนีา้หนกัตัวเปลี่ยนแปลง(เพมิ่-ลด)ไหม
ข้อมูลอัตนัย
ตามปกติรับประทานอาหารวันละ :3มื้อตรงเวลาปริมาณ1ทัพพีต่อครั้ง
ข้อมูลปรนัย
การได้รับสารอาหาร : ผู้ป่วยรับประทานอาหารเอง ทางปาก
3.แบบแผนการขับถ่ายของเสีย
(EliminationPatterns)
-เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินกระบวนการขับถ่าย ลักษณะ ปริมาณ จำนวนครั้งของของเสียทุกประเภทที่ออก จากร่างกายทั้งอุจจาระ ปัสสาวะ น้ำและอิเลคโตรไลท์ ปัจจัย ส่งเสริม ปัจจัยเสี่ยงและอุปสรรคต่อการขับถ่าย ตลอดจนการ เปลี่ยนแปลงกระบวนการขับถ่ายอันเนื่องมาจากความเจ็บป่วย และการปรับตัวเพื่อแก้ไขปัญหา
การซักประวัติ
-แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะเช่นปัสสาวะวันละกี่ครั้งจำนวนวนมากน้อยเท่าใดชอบกลั้นปัสสาวะหรือไม่ ปัสสาวะตอนกลางคืนหรือไม่จำนวนกี่ครั้ง
-ปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะและวิธีการแก้ไขเช่น ปัสสาวะแสบขัดปัสสาวะลำบาก กระปริดกระปรอยปัสสาวะน้อยไม่มีการขับถ่ายปัสสาวะหรือปัสสาวะบ่อยปัสสาวะมากกลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะมีเลือดออกปัสสาวะขุ่น กลิ่นเหม็นมีหนองปน
การตรวจร่างกาย
-สังเกตสีปริมาณลักษณะปัสสาวะที่ขับออกมาจากผู้ป่วยและปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะว่ามีความผิดปกติหรือไม่สอดคล้องกับประวัติหรือไม่
-สังเกตการมีกระเพาะปัสสาวะเต็ม(FullBladder)
-ตรวจปัสสาวะเพื่อประเมินความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
ตัวอย่างคำถาม
-ถ่ายอจุจาระบ่อยแค่ไหนวันละกี่ครั้งสัปดาหล์ะกี่ครั้ง
-ลักษณะของอุจจาระปกติเป็นก้อนหรือเป็นน้ำลักษณะเป็นนอย่างไร
-มีปัญหาในการขับถ่าย เช่นท้องผูกปวดท้องกลั้นอุจจาระไม่ได้
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะก่อนการเจ็บป่วยครั้งนี้
วิถีทาง : ปัสสาวะเอง
ความถี่ : กลางวัน 4 คร้ัง กลางคืน 3 ครั้ง
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย
จำนวนปัสสาวะใน 24 ชม. : ปัสสาวะประมาณ 900 cc . /วัน
ลักษณะปัสสาวะ : สีเหลือง ใส
4.แบบแผนด้านการมีกิจกรรมและการออกกำลังกาย (Activity-Exercise Patterns)
เป็นการรวบรวมขอ้มูลเพอื่ประเมินระดับความสามารถในการประกอบกจิกรรมตา่งๆใน ชีวิตประจาวนั การทากจิ วตั รประจาวนั การดูแลบา้ น การประกอบอาชพี การใชเ้ วลาวา่ ง และนันทนาการการออกกาลังกายหรือการทากจิกรรมที่มีเหงอื่ออก
การซักประวัติ
ความสามารถในการปฏิบัติกิจิวัตรประจำวันว่าสามารถทำอะไรได้บ้าง
-แข็งแรงดีสามารถปฏิบัติและกิจวัตรต่างๆได้ตามปกติ
-ทางานหรือกิจกรรมได้จากสามารถปฏิบัติตได้แต่งานเบาๆ
-ดูแลกิจวัตรรประจำวันของตนเองได้จำกัด ต้องนั่งหรือนอนพักเป็นส่วนใหญ่
การตรวจร่างกาย
-สังเกตความสามารถในการทากิจกรรมต่างๆ
-ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของแขนขา (Range of motion : ROM)
-ตรวจร่างกายระบบต่างๆเพื่อประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ
ตัวอย่างคำถาม
-ในแต่ละวันตั้งแต่ตื่นนอน ท่านทกอะไรบ้าง กิจวัตรประจกวัน
-ปัญหาในการทกกิจกรรมนั้นๆหรือไม่
-แต่ละกิจรรมที่ทำใชเ้วลานานเท่าใด
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย
ความทนต่อการทำกิจกรรม (กิจกรรมท่ีทำ/ความเหนื่อยเมื่อทำกิจกรรม)
-ก่อนการเจ็บป่วยยครั้งน้ี : ทำกิจกรรมต่างๆ เล็กๆน้อยๆ จะรู้สึกเหนื่อยง่าย
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย
การออกกำลังกายขณะอยู่โรงพยาบาล:ออกกำลังกายบนเตียงโดยกายบริหารทกุเช้า
5.แบบแผนการนอนหลับพักผ่อน
(Sleep-restPattern)
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับการนอนหลับการพักผ่อนปัญหาเกี่ยวกับการนอนปัจจัย ส่งเสริมปัจจัยเสี่ยงและอุปสรรคต่อแบบแผนการนอนกิจกรรมที่บุคคลปฏิวัติ เพื่อให้ผ่อนคลายรวมทั้งการเปลี่ยนนแปลงของแบบแผนอันเนื่องมาจากความเจ็บป่วย
การซักประวัติ
พฤตกิรรมการนอนประวัติเกี่ยวกับอุปนิสัยการนอน
-เป็นคนนอนดึกหรือนอนแต่หัวค่ำชอบหลับเวลากลางวันตื่นเวลากลางคืนระยะเวลาท่ีนอนหลับนอนวันละกี่ชั่วโมงกลางวันกี่ชั่วโมงกลางคืนกี่ชั่วโมง เพียงพอหรือไม่
พฤตกิรรมหรือส่ิงที่ช่วทำให้นอหลับได้ง่าย
-ก่อนนอนต้องฟังเพลงฟังธรรมะดื่มนมหรือเครื่องดื่มอื่นๆหรือบรรยากาศ เงียบสงบและไม่มีแสงไฟหรือต้องเปิดไฟสว่างเปิดเครอื่งปรับอากาศจึงทำให้ นอนหลับสบายเป็นต้น
การตรวจร่างกาย
สังเกตหน้าตาว่านอนหลับพักผ่อนเพียงพอหรือไม่
-ความสดชื่นแจ่มใส ซึม อ่อนเพลีย
-ง่วงนอน หาวนอนบ่อย
-ใต้ตาเป็นรอยเขียวคล้า
ตัวอย่างคำถาม
-นอนวันละกี่ชั่วโมงนอนกลาง่วงไหม
-หลับสนิทหรือหลับๆตื่นๆ
-มีปัญหาการนอนไม่หลับไหมจัดการอย่างไร
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย
ตามปกตินอนหลับกลางวัน :วันละ3ชั่วโมง นอนกลางคืน วันละ8ชั่วโมง
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย
อาการแสดงของการนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ (อ่อนเพลีย หน้าตาอิดโรย ขอบตาคล่ำ หาวนอน
บ่อยหงุดหงิด:ผู้ป่วยมีท่าทางออ่นเพลียหน้าตาไม่สดชื่น หาว
6.แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้(Cognitive-perceptualPattern)
การรับรู้ความรู้สึกและการตอบสนอง
-แบบแผนเกี่ยวกบัความสามารถของบุคคลในการรับรู้สิ่งเร้าและการตอบสนองต่อสื่งเร้า ด้านการรับรู้ความรู้สึก(sensation)
ความสามารถทางสติปัญญา
-แบบแผนเกี่ยวกับความสามารถและพัฒนาการทางสติปัญญาเกี่ยวกับความคิด
ความจำความสามารถในการตัดสินใจการแก้ปัญหาและการสื่อภาษาต่างๆ
การซักประวัติ
-ความรู้สึกทั่วไปสุขสบายหรือไม่สุขสบาย
-ปัญหาเกี่ยวกับความรู้สึกตัวเช่น มีอาการสับสนซึมไม่รู้สึกตัวและระยะเวลาท่ีมีอาการ
-ปัญหาเกี่ยวกับการได้กลิ่นเช่น มีความผิดปกติของจมกูมีส่ิงคัดหลั่งปวดจมูกการได้กลิ่นลดลง หรือไม่ได้กลิ่น
การตรวจร่างกาย
-ประเมินระดับความรู้สึกตัว เช่น การลืมตาการสื่อภาษาการเคลื่อนไหวของร่างกายและ
ตรวจดูความผิดปกติของจมูก ตา หู ลิ้น ตรวจประสาทสัมผัสทางผิวหนัง
-สังเกตลักษณะท่ัวไปเช่น รูปร่างลักษณะหน้าตาท่าทางการแต่งกายการดูแลสุขอนามัยท่ัวๆไปพฤติกรรมที่แสดงออกลักษณะคำพูดการพูดจาโต้ตอบการใช้ภาษาที่เหมาะสมการ รับรู้บุคคล เวลา สถานที่การคิดที่สมเหตุสมผล
-ประเมินระดับสติปัญญา(IQ)โดยใช้แบบทดสอบ
ตัวอย่างคำถาม
-ผู้ป่วยสามารถบอกวัน เวลา สถานท่ี และบุคคลได้
-ตอบคำถามได้ตรงประเด็นที่ถาม
-สามารถพูดโต้ตอบได้ใช้ภาษาได้ดีอ่านหนังสือออกและเขียนหนังสือได้
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย
คุณมีความผิดปกติเกี่ยวกับการรับรู้หรือไม่อย่างไร
การสัมผัส:ผู้ป่วยรับรู้การรับสัมผัสได้ดี
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย
ระดับความรู้สึกตัวการรับรู้วันเวลาสถานที่บุคคล:ผู้ป่วยสามารถบอกวันเวลาวันที่สถานที่ และบุคคลได้
7.แบบแผนการับรู้ตัวเองและอัตมโนทัศน์(Selfperception–SelfconceptPattern)
แบบแผนที่เกี่ยวกับความคิดความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อตนเอง(อัตมโนทัศน์)การมองตนเอง เกี่ยวกับรูปร่างหน้าตาความพิการ(ภาพลักษณ์)ความสามารถคุณค่าเอกลักษณ์และ ความภูมิใจในตนเองตลอดจนปัจจัยเสริมปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยอุปสรรคที่มีผลต่อการรับรู้ ตนเองและอัตมโนทัศน์รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของแบบแผนอันเนื่องมาจากความเจ็บป่วย
การซักประวัติ
-ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับภาพลักษณ์โดยทั่วไปรู้สึกว่าอ้วนผอมสูงหรือเตี้ยเกินไป
-ความรสู้กึต่อตนเองเกี่ยวกับความสามารถในด้านต่างๆได้แก่ความสามารถในการปฏิบัติงานการ เรียน การทากิจกรรมต่างๆ
-ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงร่างกายที่มีอปุกรณเ์พิ่มขึ้นเช่นการมีสายสวนปัสสาวะ และถุงรองรับปัสสาวะการมีสายยางให้อาหาร
การตรวจร่างกาย
-สังเกตความสนใจตนเองของผู้ป่วย
-การแต่งกาย บุคลิกภาพ
-การกล่าวถึงตนเอง
ตัวอย่างคำถาม
-ท่านคิดว่าตัวเองเป็นคนมีนิสัยอย่างไร
-รู้สึกอย่างไรต่อสภาพตนเองตอนที่เจ็บป่วย
-คิดว่าตัวเองมีจุดเด่นจุดด้อยอะไรบ้าง
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย
คุณรู้สึกต่อรูปร่างหน้าตาตนเองอย่างไร
-ก่อนการเจ็บป่วย : รู้สึกว่หาน้าตาตนเองสดใส มีน้ำมีนวล
-ขณะเจ็บป่วย:รู้สึกว่าหน้าตาเศร้าหมองไม่มีชีวิตชีวาผมไม่ได้หวีเหนื่อยอ่อนเพลีย
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย
พฤติกรรมแสดงความสนใจในรูปร่างหน้าตาต่อตนเอง:ผู้ป่วยไม่ได้มีพฤติกรรมที่แสดงความ สนใจในรปูร่างหน้าตา
8.แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
(Role-relationshipPattern)
แบบแผนเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบการติดต่อสื่อสารและการมีสัมพันธภาพกับบุคตลทั้งภายในครอบครัวและสังคมรวมทั้งปัจจัยส่งเสริมปัจจัยเสี่ยงหรือปัจจัยอุปสรรคต่อการปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่และการสร้างสัมพันธภาพรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงบทบาทอัน เนื่องมาจากความเจ็บป่วย
การซักประวัติ
-โครงสร้างครอบครัวเช่น จำนวนสมาชิกในครอบครัวมีใครหรืออยู่คนเดียว
-หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและสมาชิกคนอื่นๆต่อครอบครัว
-การแสดงบทบาทในครอบครัวทั้งในขณะที่มีสุขภาพดีและการเปลี่ยนแปลงบทบาทในขณะเจ็บป่วยมี
ผลกระทบต่อครอบครัวหรือไม่
การตรวจร่างกาย
-สังเกตพฤติกรมต่างๆหรือท่าทางที่แสดงออกต่อ ครอบครัวและบุคคลในครอบครัวแสดงต่อผู้ป่วยลักษณะการโต้ตอบระหว่างผู้ป่วยกับบุคคลในครอบครัวรวมท้ังเพื่อนผู้ร่วมงานการมาเยี่ยมของคนในครอบครัวด้วย
ตัวอย่างคำถาม
-คุณอยู่กับใครครอบครัวมีใครบ้าง
-มีปัญหาในครอบครัวไหมครอบครัวจัดการ
ปัญหาอย่างไร
-ครอบครัวคิดอย่างไรกับปัญหาความเจ็บป่วย
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย
บทบาทและสัมพันธภาพในครอบครัว
จำนวนสมาชิกในครอบครัว:5คน
ประกอบด้วยใครบ้าง:ตัวผู้ป่วยเอง,สามี,ลูกสะใภ้,หลาน2คน
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย
สัมพันธภาพของผู้ใช้บริการกับครอบครัว/เพื่อน/ผู้ร่วมงาน:มีสัมพันธภาพดี
9.แบบแผนเพศสัมพันธุ์และละการเจริญพันธุ์
(Sexuality-reproductivePattern)
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับพัฒนาการตามเพศซึ่งมีอิทธิพลมาจากพัฒนาการด้านร่างกาย และอิทธิพลของสังคมสิ่งแวดล้อมการเลี้ยงดูลักษณะการเจริญพันธุ์พฤตกิรรม ทางเพศและเพศสัมพันธ์ปัจจัยส่งเสริมปัจจัยเสี่ยงหรือปัจจัยอุปสรรคต่อพัฒนาการตามเพศและการเจริญพันธุ์รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของแบบแผนอันเนื่องมาจาก ความเจ็บป่วย
การซักประวัติ
การเจริญพันธุ์ทางการสืบพันธุ์
การมีเพศสัมพันธ์ปัญหาเพศสัมพันธ์ความเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับการมีเพศสัมพันธ์ และการป้องกันโรคติดต่อกันได้ทางเพศสัมพันธ์
การมีพฤตกิรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่ติดต่อกันได้ทางเพศสัมพันธ์การมีพฤตกิรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมเช่นรักร่วมเพศ
การตรวจร่างกาย
-สังเกตพฤตกิรรมทางเพศจากลกัษณะทา่ทางที่แสดงออกปฏิสัมพนัธก์บับุคคลอนื่การใชภ้าษา
และคาพดูรวมทั้งการแตง่กายวา่เหมาะสมกบัเพศหรอืไม่
-เพศหญิง ตรวจเต้านม ต่อมน้าเหลอื ง อวัยวะเพศหญิง เพศชาย ตรวจอวยั วะเพศชาย ตรวจ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อทางเพศสมัพนัธ์เช่นโรคเอดส์จะพบลกัษณะผอมมาก มีเช้ือราในปากมีรอยโรคตามผิวหนังท้องเสยีเรอื้รงั
การตั้งคำถาม
-ประวัติการมปีระจาเดือนเริ่มมีเมอื่อายกุปี่ี แต่ละครงั้มีกวี่นั มีอาการรว่มขณะมี ประจาเดือนหรอืไม่
-มีบุตรกี่คน
-คุมกำเนิดหรือไม่ ใช้วิธีใด
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย
มีประจำเดือนครั้งแรก13ปีระยะห่างของการมีประจำเดือน20วัน
ปริมาณประจำเดือน:2แผ่น/วัน
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย
ลักษณะทางเพศชาย : ลูกกระเดือก หนวด ขนตามร่างงกาย
หญิง : เต้านม สะโพก : มีเต้านม มีสะโพกผาย
10.แบบแผนการเผชิญความเครยีดและความทนต่อความเครียด
(Coping –stress tolerance Pattern)
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับการรับรู้ลักษณะอารมณ์พื้นฐานการรับรู้เกี่ยวกับความเครียดปฏิกิริยาของร่างกายเมื้อเกิดความเครียดวิธีการแก้ไขและการจัดการกับความเครียดปัจจัย เสี่ยงที่ทำใหเ้กิดความเครียดปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการปรับตัวกับ ความเครียดรวมทั้งการเปลี่ยาแปลงของแบบแผนอันเนื่องมาจากความเจ็บป่วย
การซักประวัติ
-ข้อมูลท่ัวไปเช่นอายุการศึกษาอาชีพรายได้สถานภาพสมรสความสัมพันธ์ในครอบครัว
สิ่งแวดล้อมีที่บ้าน เพื่อประเมินสาเหตุที่ทำใหเ้กิดความเครียด
-สัมภาษณ์เกี่ยวกับลักษณะอุปนิสัยหรืออารมณ์พื้นฐานของผู้ป่วย
-ซักถามส่ิงท่ีทำใหเ้กิดความเครียดไม่สบายใจวิตกกังวลกลัวเครียดคับข้องใจ
การตรวจร่างการ
ตรวจสอบพฤตกิรรมที่บ่งชี้ถึงความเครียดความ
เศร้าความวิตกกังวล
-สีหน้าหมกมุ่น ขมวดคิ้ว กระวนกระวาย ซึมเงียบเฉย ร้องไห้ นอนไม่หลับ
-สังเกตอาการต่างๆเช่นเหงื่อออกมากหน้า ซีดหรือ หน้าแดง มือสั่น หายใจเร็ว
ตัวอย่างคำถาม
-ในช่วง1ปีที่ผ่านมามีการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญในชีวิติไหม
-มีเรื่องไม่สบายใจเครียดหรือไม่แก้ไขอย่างไร
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย
ตามปกติมีอุปนิสัยและอารมณ์อย่างไร:เป็นคนชอบพูดร่าเริงอารมณ์ดี
เหตกุารณ์ที่ทำใหเ้กิดการเปลยี่นแปลงที่ทสำคัญในช่วง1-2ปีท่ีผ่านมา:
ผู้ป่วยปฏิเสธ
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย
ลักษณะพฤติกรรมการแสดงออกทางสีหนา้ท่าทางการแต่งกายท่ีบ่งชี้ถึงความเครยีดวิตกกังวลไม่ สบายใจเช่นสีหน้าหมกมุ่นกระวนกระวายร้องไห้ซึมนอนไม่หลับรับประทานอาหาไมไ่ด้: ผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวลไม่สบายใจ
11.แบบแผนค่านิยมและความเชื่อ
(Value–beliefPattern)
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับความเชื่อ ความศรัทธา ความมั่นคงเข้มแข็ง ทางด้านจิตใจ สิ่งที่มีคุณค่า มีความหมายต่อชีวิต สิ่งยึดเหนี่ยว ทางด้านจิตใจ เป้าหมายในการดำเนินชีวิต
การซักประวัติ
-ความเช่ือความผูกพันความศรัทธาที่มีต่อส่ิงต่างๆเช่นความดีงามความถูกต้องศาสนาพระ
เจ้าส่ิงศักดิ์สิทธหรือสิ่งเหนือธรรมชาติ
-สิ่งสำคัญในชีวิตหรือสิ่งที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจอาจเป็นบุคคลวัตถุส่ิงของศาสนาคุณงามความดี
ค่านิยมขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม
การตรวจร่างกาย
-สังเกตพฤตกิรรมท่ีแสดงออกทางสีหน้ากริยาท่าทางรวมท้ังการแสดงออกทางอารมณ์เช่น
ซึมเศร้า แยกตัวว้าเหว่ โกรธ หงุดหงิด
-สังเกตคำพูดของผู้ป่วยและญาติที่แสดงถึงการให้คุณค่าและการมีความเชื่อในด้านต่างๆ
ตัวอย่างคำถาม
-จุดมุ่งหมายในชีวิตอย่างไร
-มีสิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจตใจคืออะไร
-สิ่งที่มีความหมายต่อผู้รับบริการมากที่สุด คืออะไร
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพและความเจ็บป่วย(อาหารแสลง/การปฏิบัติตน):เช่ือว่าถ้ารับประทานกาแฟเยอะๆจะทำให้นอนไม่หลับ
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย
การนำส่ิงท่ีนับถือบูชามาโรงพยาบาล(ห้อยพระใส่เครื่องรางของขลังฯลฯ):ผู้ป่วยไม่ได้นสิ่งที่บูชานับถือมาโรงพยาบาลด้วย