Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบแผนสุขภาพ (Functional health patterns) - Coggle Diagram
แบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ความหมายของแบบแผนสุขภาพ
แบบแผน
พฤติกรรมของบุคคลที่ต่อเนื่องกันในช่วงเวลาหนึ่ง
แบบแผนสุขภาพ
พฤติกรรมด้านสุขภาพของบุคคลซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลา
หนึ่ง และมีผลต่อสุขภาพ
กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพ
-พัฒนาโดย มาร์จอรีย์ กอร์ดอน (Majory Gordon) ศาสตราจารย์ ทางการพยาบาลที่วิทยาลัยบอสตัน(Boston College of Nursing) ประเทศสหรัฐอเมริกา
-แบบแผนสุขภาพใช้เป็นแนวคิดในการประเมินภาวะสุขภาพของบุคคล ครอบครัวหรือชุมชน ทั้งในภาวะปกติและภาวะเจ็บป่วย
-ประเมินจากพฤติกรรมทั้งภายนอกและภายใน
-มนุษย์จะมีภาวะสุขภาพที่ดีหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับความปกติ(function) หรือผิดปกติ (dysfunction) ของแบบแผนสุขภาพ
-มี 11 แบบแผน 11-แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
แบบแผนด้านโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร
(Nutritional-Metabolism Patterns)
แบบแผนการขับถ่ายของเสีย(Elimination Patterns)
1 แบบแผนการรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ
(Health Perception-Health Management Patterns)
แบบแผนด้านการมีกิจกรรมและการออกกำลังกาย
(Activity-Exercise Patterns)
แบบแผนการนอนหลับพักผ่อน (Sleep-rest Pattern)
แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้ (Cognitive-perceptual Pattern)
แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ (Self perceptlon-Self concept Pattern)
แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ (Role-relationship Pattern)
แบบแผนเพศสัมพันธุ์และการเจริญพันธุ์ (Sexuality- reproductive Pattern)
แบบแผนการเผชิญความเครียดและความทนต่อความเครียด
(Coping -stress tolerance Pattern)
แบบแผนค่านิยมและความเชื่อ (Value - bellef Pattern)
องค์ประกอบของแบบแผนสุขภาพแต่ละแบบแผน
พฤติกรรมภายใน คือ พฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าหรือ
กระบวนการคิด ความรู้ของบุคคลเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ
เจตคติ ซึ่งประกอบด้วยความรู้สึก ความคิดเห็น ค่านิยมของบุคคล
กระบวนการทำงานทางกาย หรือทางชีวภาพในระบบต่างๆ เช่น ระบบหายใจ ระบบหัวใจ และหลอดเลือด
พฤติกรรมภายนอก คือการกระทำที่แสดงออกมาให้สังเกตเห็นได้ รับรู้ได้ หรือใช้เครื่องมือ ตรวจสอบได้ เช่น
พฤติกรรมที่เป็นคำพูด
พฤติกรรมที่ไม่ใช่คำพูด เช่น กิริยา ท่าทาง การเดิน การหัวเราะ ร้องไห้ ฯลฯ
การตรวจโดยใช้เครื่องมือทางการแพทย์ เช่น การตรวจวัดสัญญาณชีพ การเอกซเรย์ เป็นต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น การตรวจเลือด การตรวจสิ่งคัดหลังต่างๆ
ปัจจัยส่งเสริมพฤติกรรมและอุปสรรค
พฤติกรรมภายนอก และพฤติกรรมภายใน จะมี ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
พฤติกรรมภายในเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมภายนอก เช่น พฤติกรรมภายในมีความยินดีและพึงพอใจกับ สิ่งที่ปรารถนา ก็จะแสดงออกมาเป็นพฤติกรรม ภายนอกให้สังเกตเห็นได้จาก สีหน้า แววตา กิวิยา ท่าทาง ทางร่างกาย เป็นตัน
กระบวนการพยาบาล (Nursing
Process)
การเก็บรวบรวม ข้อมูล
ได้จากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การ ตรวจพิเศษต่างๆ
การจัดระบบ ข้อมูล
เป็นการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาจัด ให้เป็นหมวดหมู่ ตามกรอบแนวคิดหรือ ทฤษฎีทางการพยาบาล
การบันทึก ข้อมูล
ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ข้อมูลปรนัย (Objective data)
การรวบรวมข้อมูล
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ผู้รับบริการชอบกินข้าวเหนียววันละ 3 มื้อ ชอบกินอาหารรสจัดโดยเฉพาะสัมตำ
ปกติเข้านอนตั้งแต่เวลา 22.00-06.00 น. หลับสนิททั้งคืน ไม่เคยนอนกลางวัน
ปวดศีรษะข้างเดียว ปวดตุ๊บๆ"
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย (Objective data)
ท่าทางเหนื่อยอ่อนเพลีย ขอบตาดำคล้ำ หาวนอนบ่อยๆ
สีหน้าไม่ค่อยสดชื่น
คลำพบก้อนบริเวณหน้าท้อง
•การประเมินทางการพยาบาลในผู้ป่วยโดยใช้กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพ ของกอร์ดอน (Gordon, 1994 ) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สามารถทำได้โดยการซักประวัติ การสังเกต การ ตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และ การตรวจพิเศษ
วิธีการได้มาซึ่งข้อมูล
•ข้อมูลอัตนัย (Subjective data) คือ การซักประวัติจากผู้รับบริการหรือญาติ (ในกรณีที่ ผู้รับบริการไม่สามารถให้ข้อมูได้หรือให้ข้อมูลได้ไม่ครอบคลุม)
•ข้อมูลปรนัย (Objective data) คือ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต/การตรวจร่างกาย การ ตรวจทางห้องปฏิบัติการ และ การตรวจพิเศษ