Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ
Acute coronary syndrome:ACS
UA: unstable angina
อาการ : Chest pain
EKG : T-wave change บางครั้ง
Cardiac enzyme : CK-MB ,Troponin T,I ไม่เปลี่ยนแปลง
การรักษา : PCI , CABG , anti platelet ,anti Thrombotics ,Beta blocker ,ACEI , statin
NSTEMI
อาการ : Chest pain มากกว่า 30 นาที เป็นถี่ขึ้น รุนแรงขึ้น พัก อมยาใต้ลิ้นไม่ดีขึ้น
EKG : ST depression, T-wave inversion
Cardiac enzyme : CK-MB , Troponin T,I สูง
การรักษา : Anti Coagulant , CAG ,PCI ,CABG , Streptokinase
STEMI
อาการ : Chest pain มากกว่า 30 นาที เป็นถี่ขึ้น รุนแรงขึ้น พัก อมยาใต้ลิ้นไม่ดีขึ้น
EKG : ST elevation
Cardiac enzyme : CK-MB ,Troponin T,I สูง
การรักษา : SK, CAG ,PCI , CABG
การพยาบาล
Absolute bed rest
ประเมิน vital sign ,CVP , cardiac out put
เฝ้าระวังการมี Perfusion ของปอด และหัวใจลดลง
ติดตาม ประเมินค่า EKG
แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่ายให้ทีละน้อย งดเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน
หลีกเลี่ยงการทำให้ผู้ป่วยมี Valsava maneuver เช่นการเบ่งถ่ายอุจจาระ
หลีกเลการออกกำลังกายแบบ Isometric exercise
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure)
ภาวะหัวล้มเหลวคือภาวะที่หัวใจ ไม่สามารถฉูบฉีดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆของร่างกายได้เพียงพอ เนื่องจากหัวใจทำงานผิดปกติ ถ้าหากเกิดภาวะนี้มีการคั่งของของเหลวร่วมด้วยจะเรียกว่า ภาวะหัวใจล้มเหลวมีเลือดคั่ง (Congestive Heart Failure)
ชนิดของ Heart Failure
Systolic กับ Diastolic dysfunction
Left versus right ventricle failure
Low output และ high output syndrome
Diagnosis
Examination
Left side heart failure
อ่อนแรง
ปัสสาวะออกน้อย
เจ็บหน้าอก
สับสน
วิงเวียนศรีษะ
หัวใจเต้นเร็ว , ใจสั่น
ซีด
ชัพจรปลายมือ ปลายเท้าเบาเร็ว
หายใจลำบาก
ไอตอนกลางคืน
ฟังปอดพบ Crepitation
เสมหะฟองสีชมพู
ฟังหัวใจ S3 ,S4 พบ Gallop
Right side heart failure
Jugular vein engorgement
ตับ ม้ามโต
ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้อาเจียน
บวมแขนขา
หน้าท้องโป่งตึง
ปัสสาวะมากตอนกลางคืน
น่ำหนักเพิ่ม
การพยาบาล
Absolute bed rest
ประเมิการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย
ชั่งน้ำหนักทุกวัน วันละครั้ง เวลาเดิม
สังเกตการบวมของผิวหนัง และหลอดเลือดที่คอ
จำกัดน้ำในแต่ละราย และจำกัดอาหารโซเดียมสูง
โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac arrhymia)
ชนิดของ Cardiac arrhythmia
Bradyarrhythmia
Tachyarrhythmia
การพยาบาล
วัดสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
หากผู้ป่วยมีอาการผิดปกติ รายงานแพทย์
ความผิดปกติที่เกิดจากการติดเชื้อ
โรคลิ้นหัวใจติดเชื้อ (Infection endocarditis)
Sign and symptoms
มักมีไข้นำมาร้อยละ 80 มีไข้ไม่เกิน 1 เดือนไม่แสดงตำแหน่งการติดเชื้อ มักมีอาการหัวใจวายร่วมด้วย
Diagnosis
พบเชื้อในเลือด สาเหตุเชื้อได้แก่ Viridans streptococci, Streptococcus gallolyticus (S.bovis), HACEK group, Staphylococcus aureus หรือenterococci
การรักษา
ให้ยา Antibiotic
การผ่าตัด Left side valve IE
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ( Myocarditis)
พยาธิสภาพ
สาเหตุที่ขัดขวางการทำงานของหัวใจ ทำให้ความสามารถของหัวใจหดตัวไม่มีประสิทธิภาพ ผลให้มี Low cardiac output ทำให้ปริมาณเลือดใน systole และ Diastole วูงกว่าปกติส่งผลให้เกิดหัวใจวายเลือดคั่งได้
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis)
พยาธิสภาพ
กระบวนการอักทำให้น้ำในช่องเยื่อหุ้มหัวใจเพิ่มมากขึ้น ทำให้มีการอักเสบรอบๆ เนื้อเยื่อ มีไฟบรินหรือน้ำเกิด ทำให้เยื่อหุ้มหัวใจแข็ง หนา ขาดความยืดหยุ่น หัวใจไม่สามารถขยายตัวได้ ความจุหัวใจลดลง ความดันรอบ ๆ หัวใจสูงขึ้น มีผลให้เลือดไหลเข้าสู่หัวใจ การฉูบฉีดของหัวใจลดลง
Sign and symptoms
อาการเจ็บหน้าอก Percordial pain มักไม่พบทุกราย
เสียงเสียดสีระหว่างเยื่อหุ้มหัวใจทั้ง 2 ชั้น Pericardial firction rub
หายใจลำบาก Dyspnea
Diagnosis
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
CBC พบ WBC ขึ้นสูง
ตรวจ EKG พบ ST และ T สูงขึ้น
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก พบในรายที่มีน่ำมากกว่า 500 CC ขึ้นไป มักจะพบขนาดหัวใจโตขึ้นแต่เงา Pulmonary ปกติ
การรักษา : ให้ยาปฏิชีวนะ และรักษาตามอาการ
Cardiomyopathy
ชนิดของ cardiomyopathy
Dilated cardiomyopathy
พบมากที่สุดโดยเฉพาะวัย 40-60 ปี
ลักษณะสำคัญ มีหัวใจโต มีการยืดขยายของ ventricle โดยขนาดของกล้ามเนื้อไม่ขยายเพิ่มมากขึ้น การบีบตัวของ Ventricle ต่ำ ส่งผลให้ Low CO น้อยกว่า 40% ส่งผลให้เกิด congestive heart failure ต่อมาได้
อาการ : โรคเรื้อรังช่วงแรกไม่มีอาการ เริ่มมีอาการทีละน้อย หายใจลำบากขณะนอนราบ หายใจไม่อิ่ม อ่อนเพลีย ไม่มีแรง อาจพบ Left side heart failure หรือ PE ได้
Hypertropic cardiomyopathy
เป็นลักษณะของ cardiomyopathy ที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ผู้ป่วยจะเสียชีวิตก่อนวัย 40 ปี ลักษณะของ HCM คือการเกิด hypertrophy ของ ventricle ซ้ายและบางครั้งมักพบขวาร่วมด้วย บางครั้งมักพบ septal ของ ventricular หนากว่าส่วนอื่นๆ บางครั้งก็อาจหนาเท่ากันได้ การบีบตัว ventricular ปกติแต่อาจมีการอุดตีนของกระแสเลือดก่อนถึงลิ้น aortic ร่วมด้วย
อาการ : อาการที่พบมากที่สุดคือ เหนื่อยเมื่อออกแรง อ่อนเพลีย ไม่มีแรง นอนราบไม่ได้ หมดสติใจสั่น
Restrictived Cardiomyopathy
โรคกล้ามเนื้อหัวใจที่มี ventricle hyperthrophy ส่งผลให้เกิด Imparired diastolic funtion หัวใจจึงยทดไม่ได้ดีขณะคลายตัว
อาการ : ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง อ่อนเพลีย ไม่มีแรง นอนราบไม่ได้ หายใจลำบาก CVP สูง บวม Right side heart failure
Diagnosis
Echocardiogram
Valvular heart disease
Mitral stenosis
พยาธิสภาพ
มีการเชื่อมกันของแผ่นลิ้น
มีผังผืดและแผลเกิดขึ้นที่ลิ้นหัวใจ
มีหินปูนเกาะ และจับกันที่ลิ้นหัวใจและกลัามเนื้อหัวใจ
ส่วนใหญ่ร้อยละ 99 มักเกิดจาก Rheumatic cardititis
อาการ : ส่วนใหญ่มักไม่มีอาการอะไรจนกว่าจะตีบมาก อาการส่วนใหญ่ได้แก่ หายใจลำบากเมื่อออกแรง หรือเมื่อนอนราบ หายใจลำบากตอนกลางคืน หอบเหนื่อยไอ ไอเป็นเลือด อ่อนเพลียไม่มีแรง
การรักษา
รักษาด้วยยา digitalis ,diuretic ,beta blocker เป็นต้น
จำกัดน้ำและโซเดียม
จำกัดกิจกรรม
ทำ balloon vavuloplasty
5.ผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ
Mitral regurgitation
พยาธิสภาพ
มักเกิดจากเอ็นยึดลิ้นฉีกขาด หรือติดเชื้อที่ลิ้นและผนังหัวใจ ขณะที่ mitral รั่วอย่างเรื้อรัง มักเกิดร่วมกับลิ้นหัวใจตีบ นอกจากนี่เกิดจากลิ้น1หรือทั้ง 2แผ่นแข็งและหดตัวสั้นลง จึงเกิดการรั่วของลิ้น
อาการ
ระยะเฉียบพลัน : หอบ เหนื่อยค่อยๆเป็นช้าๆ และรุนแรง
ระยะเรื้อรัง : เริ่มมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยขณะออกกำลังกาย บวม ไอเป็นเลือด หายใจลำบากได้
Aortic stenosis
พยาธิสภาพ
ความพิการของลิ้น aortic หนาตัวขึ้น และมีการติดของแผ่นลิ้นเป็นผลมาจากหินปูนที่เกาะ
อาการ : มักไม่มีอาการใด ๆ จนกว่าลิ้นจะตีบลงจนเหลือ 1 ใน 3 เท่านั้น
ตรวจร่างกายพบ : ชีพจรเบาลง ฟังหัวใจได้ systolic murmur
Aortic regurgitation
พยาธิสภาพ
เมื่อมี aortic regurgitation เลือดจาก aorta บางส่วยจะไหลกลับสู่หัวใจห้องล่างซ้าย ทำให้มีเลือดเพิ่มมากขึ้น เกิดการชดเชยโดยการเพิ่มการขยายขนาดและเพิ่มแรงบีบมากขึ้น ทำให้ ventricle ล้มเหลว และเกิด heart failure ตามมาได้
อาการ : อาการขึ้นอยู่กับขนาดรูที่รั่ว รูรั่วเล็กอาจไม่พบอาการผิดปกตื อาการรุนแรงมักพบในรายที่มีรูรั่วขนาดใหญ่ได้แก่ หอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ อาการหัวใจซีกซ้ายล้มเหลวได้
Tricuspid regurgitation
พยาธิสภาพ : ส่งผลให้แรงดันห้องขวาสูงขึ้น เลือดไม่สามารถไหลผ่านลิเนที่ตีบแคบได้ ส่งผลให้เลือดคั่งหัวใจห้องบน เป็นเวลานานหัวใจห้องบนขยายได้ มีผลให้ เกิด neck vein ขยายตัวได้ ตับโต ท้องมาน บวมได้ เกิด right side heart failure ได้
อาการ : เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ตับโต CXR พบหัวใจซีกขวาโตได้
Tricuspid stenosis
พยาธิสภาพ : เลือดจากหัวใจห้องล่างขวาไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา ส่งผลให้แรงดันหัวใจห้องบนขวาสูงขึ้น และเกิด right side heart failure ได้
อาการ : หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง ตับโต ท้องมาน มีน้ำในเยื่อหุ้มปอด อาการ right side heart failure ได้