Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 7 กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มโนทัศน์พื้นฐานทางการพยาบาล หมายถึง
ความรู้ความคิด ความเช่ือ ในส่ิงที่เป็นพื้นฐานของการพยาบาล
ประกอบด้วยความรู้พื้นฐานในมโนมติของคน
พยาบาลจะต้องศึกษาเพื่อที่จะเป็นพื้นฐานในการปฏบัติการพยาบาลของตน
มโนมติของคน
คน
กายหรือร่างกาย ประกอบด้วยส่วนของโครงสร้างและ
หน้าที่การทำงานของร่างกายของบุคคล
จิตหรือจิตใจ ประกอบด้วย 3 ส่วน
อารมณ์ละความรู้สึก
-จิตวิญญาณ (Spirit)
-สติปัญญา หรือความคิด
สังคม คือ คนจะเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นด้วย บทบาท หน้าท่ี ของตนที่มีต่อบุคคลอื่น แต่ละบุคคลจะปฏิบัติต่อบุคคลอื่น อย่างไรนั้นขึ้นกับตำแหน่งทนดำรงอยู่ในขณะนั้นเป็นสำคัญ
คนเป็นระบบเปิด
คนเป็นหน่วยมีชีวิตจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา
การรับและการให้เกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยมีความสัมพันธ์กัน
คนมีความต้องการพื้นฐาน
ในแต่ละบุคคลจะมีความต้องการทั้งทางร่างกาย จิตใจและสังคม
ความต้องการของคนแบ่งออกได้เป็น 5 ระดับตามทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์
-ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ
(Physical needs)
-ความต้องการความปลอดภัย(Safety and security)
-ความต้องการความรัก ความผูกพัน (Affiliation)
-ความต้องการความภาคภูมิใจและความมีศักดิ์ศรี
(Self-esteem)
-ความต้องการความพอใจตนเอง (Self-actualization)
คนมีพัฒนาการ
การพัฒนาการจะเป็นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เกิดจนถึงวัยชรา การพัฒนาการในแต่ละด้านนจะมีความต่อเนื่องกันและเป็นลำดับขั้นการพัฒนาการในแต่ละด้านแต่ละขั้นตอนจะมีลักษณะเฉพาะ
คนต้องมีความต้องการภาวะสมดุลหรือภาวะปกติ
กระบวนการที่ดำรงภาวะสมดุลหรือปรับสมดุล
เรียกว่า กระบวนการปรับตัวหรือกลไกการต่อสู้ เพื่อสมดุล ประกอบด้วยกระบวนการหรือกลไกทางด้านร่างกายและจิต สังคม
ความต้องการดำรงภาวะสมดุล (Homeostasis) ประกอบด้วยความต้องการในระดับที่ไม่รู้ตัวเป็นไปได้โดยอัตโนมัติและในระดับที่รู้ตัว
ความต้องการปรับสู่ภาวะสมดุล โดยกลไกการปรับสู่ภาวะสมดุล อาจจะเป็นทั้งระบบอัตโนมัติหรือรู้ตัว
มโนมติของสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
หมายถึงส่ิงแวดล้อมภายนอกที่ไม่มีชีวิต เช่น ความร้อน แสง เสียง รังสี อากาศ ดิน น้ำ ลม ที่พักอาศัย สิ่งก่อสร้างต่างๆ
สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
ส่ิงมีชีวิตต่างๆทั้งพืชและสัตว์ที่มีขนาดเล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็นจนถึงพืชและสัตว์ที่มีขนาดใหญ่โตกว่าคน
สิ่งแวดล้อมทางเคมี
สารเคมีทุกชนิดรวมทั้งอาหาร ยา
สิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
ส่ิงแวดล้อมทางสังคมที่เป็นรูปธรรมที่สำคัญ คือบุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันมีบทบาทหน้าที่ต่อกัน
หน่วยของสังคมที่สำคัญที่สุด คือครอบครัว
บุคคลในครอบครัวต่างก็เป็นส่ิงแวดล้อมซึ่งกันและกัน อาจก่อให้เกิดผลดีหรือผลเสียต่อกันก็ได้
ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณี กฎหมาย ศาสนา
อากาศที่บริสุทธิ์มีส่วนช่วยทำให้คนมีร่างกายที่แข็งแรง
มโนมติของสุขภาพ
สุขภาพของคนจะประกอบด้วย 2 ภาวะ คือ
ภาวะสุขภาพดี (Wellness)
เจ็บป่วย(Illness)
สุขภาพ องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947) หมายถึง สภาวะที่มีความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขมิใช่เพยีงแต่ปราศจากโรค
และความพิการเท่านั้น
สุขภาพดี หมายถึง สภาวะที่ร่างกายมีความสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ปราศจากโรคและความพิการใดๆ
ความเจ็บป่วย(illness) หมายถึง สภาวะทีมีการเปลี่ยนแปลงด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
สุขภาพมีลักษณะเป็นพลวัตรและต่อเนื่อง
ในขณะหน่ึงคนอาจอยู่ในสภาวะที่สมบูรณ์แข็งแรง แต่ก็อาอยู่ในภาวะเจ็บป่วยได้ในไม่กี่ชั่วโมงต่อมา
บางคนอาจป่วยหนักตั้งแต่แรกเกิดและเสียชีวิต
มโนมติการพยาบาล
การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้ช่วยให้ คนกลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย คำว่า รักษาทางการพยาบาล คือกิจกรรมที่พยาบาลปฏิบัติในขอบเขตหน้าที่ของตนในการช่วยเหลือด้านพฤติกรรมของบุคคลที่เปลี่ยนจากเดิม เนื่องจากผลกระทบปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น หรือพฤติกรรมเสี่ยง
การพยาบาลที่จะช่วยเหลือะให้คนมีพี่าวะสุขภาพดี หรือปรับสู่ภาวะสุขภาพดี
การส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนใหญ่เป็นการช่วยในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพหรือปรับเปลี่ยน พฤติกรรม
การป้องกันโรค
การป้องกันโรค แบ่งเป็น 3 ระดับ ซึ่งครอบคลุมการป้องกันด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
การป้องกันระดับ ท่ี 1 (primary prevention) การกระทำที่เป็นการป้องกันโรคบางโรคเป็นการเฉพาะ
การป้องกันระดับ ท่ี 2 (secondary prevention) ประกอบด้วยองค์กรที่ทำหน้าที่คัดกรอง หรือให้ความรู้แก่ประชาชน
ส่งเสริมการตรวจพบผู้ป่วยตั้งแต่โรคยังไม่ปรากฏอาการ เพื่อให้การักษาได้ทันท่วงที
การป้องกันระดับท่ี 3 (tertiary prevention) สอนให้รู้จักการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก
การดูแลรักษา
ผู้ป่วยต้องเลี่ยนวิธีการดำเนินชีวิต ต้องพึ่งพาผู้อื่นมากขึ้น ผู้ป่วยแต่ละคนจะมีความกลัว วิตกกังวลแตกต่างกันตามเพศ วัย ตามโรค และอาการเจ็บป่วย
การอธิบายให้ข้อมูลที่ไจเป็นแก่ผู้ป่วยรวมทั้งญาติให้เข้าใจกระจ่างจะช่วยให้ได้รับความร่วมมือที่ดีและเป็นผลดีต่อการรักษา
การฟื้นฟูสถาพร่างกาย
พยาบาลจะต้องเข้าถึงจิตใจและรู้สภาพ ปัญหาของผู้ป่วยแต่ละคนอย่างถ่องแท้มี ความอดทน มุ่งมั่นไม่ท้อถอยต่ออุปสรรค์
เป็นผู้ให้กำลังใจ ให้ความหวังช่ืนชมและยกย่องผู้ป่วย
การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้รับบริการ
การประเมินสภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมิยผลการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลจะสิ้นสุดก็ต่อเมื่อความต้องการของผู้รับบริการได้รับการ ตอบสนองหรือปัญหาได้รับการแก้ไข/ปัจจัยเสี่ยงได้รับการจัดการให้หมดสิ้น ป
การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
ถ้าขาดการพยาบาลที่มีคุณภาพอาจส่งผลให้ไม่สามารถดำรงภาวะสุขภาพดีไว้ได้หรือการปรับตัวสู่ความมีสุขภาพดีอาจจะทำด้วยความยากลำบาก
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือคนใได้สามารถดำรงภาวะสมดุลหรือภาวะ
สุขภาพดีได้และช่วยเหลือคนที่เจ็บป่วยให้ปรับตัวกลับสู่ภาวะสมดุล
ความสำคัญของมโนมติพื้นฐานทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการวิจัยทางการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการปฏิบัติการพยาบาล
เป็นพื้นฐานของการจัดการศึกษาพยาบาล
การที่พยาบาลจะใช้บทบาทใดมากนั้นจะมีความแตกต่างกันไปทั้งนี้ขึ้นกับภาวะสุขภาพของคนในฐานะของผู้รับบริการ
แนวคิดภาวะสุขภาพการเจ็บป่วยและการพยาบาล
ภาวะสุขภาพจึงเป็นความต้องการสูงสุดของบุคคลสุขภาพดีจะช่วยให้กระบวนการเจริญเติบโต พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมเป็นได้ด้วยดี
ความต่อเนื่องของภาวะสุขภาพและความเจ็บป่วย
ทฤษฎีทางการพยาบาล ( Nursing Theory )
หมายถึงแก่นสาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาล ซึ่งมุ่งอธิบายธรรมชาติของคนสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อบุคคล ภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วยของบุคคล โดยมีเป้าหมายของการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล
กระบวนทัศน์ ( Paradigm )
หมายถึงกรอบการมองหรือกรอบเค้าโครงแนวคิดหรือแบบอุดมคติหรือปรัชญาที่เป็นที่ยอมรับในกล่มุวิชาชีพซึ่งจะให้ข้อตกลงเพื่อเป็น
แนวทางปฏิบัติวิจัยและสร้างความเข้าใจในศาสตร์น้ันเป็นแนวเดียวกัน
โครงสร้างความสัมพันธ์
Metaparadigm
คน สุขภาพ สิ่งแวดล้อม การพยาบาล
แบบจําลองมโนทัศน์/ทฤษฎีการพยาบาลระดับกว้าง
ทฤษฎีของโอเรม
ทฤษฎีของรอย
ทฤษฎีของวัตสัน
ทฤษฎีของนิวแมน
การจำแนกทฤษฎีตามลักษณะการนำไปใช้
ทฤษฎีเชิงนิรนัย (Deductive nursing theories) เป็นการพัฒนาทฤษฎีการนําศาสตร์ต่างๆมาสังเคราะห์จัดระบบหรือขยายมโนมติให้เกิดเป็นมโนมติใหม่ ซึ่งทฤษฎีทางการพยาบาลเชิงนิรนัยนี้มีหลายทฤษฎีเช่น ทฤษฎีการพยาบาลของคิง ทฤษฎีการพยาบาลของรอย ทฤษฎีการพยาบาลของนิวแมน ทฤษฎีการพยาบาลของไลนิงเจอร์ ทฤษฎีการพยาบาลของวัตสัน
ทฤษฎีเชิงอุปนัย(Inductive nursing theories)เป็นการพัฒ นาทฤษฎีที่เกิดจากการปฏิบัติการพยาบาลมาประมวลเพื่อสรุปเป็นทฤษฎี
การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
ทฤษฎีอภิทฤษฎี (Meta – theory) มีเป้าหมายที่กระบวน การสร้างทฤษฎีจะมีจุดเน้นที่การตั้งคำถามเชิงปรัชญา วิธีการสร้างกระบวนการวิเคราะห์ มีความเป็นนามธรรมสูง
ทฤษฎีระดับกว้าง(Grandtheory)กำหนดกรอบแนวคิดหรือแบบจำลองมโนมติที่ครอบคลุมเนื้อหาสาระที่กว้างนําไปทดสอบโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ยาก เนื่องจากความเป็นนามธรรมสูงแต่สามารถนําไปเป็นแนวทางการปฏิบัติเช่น ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม ทฤษฎีการปรับตัวของรอย ทฤษฎีการดูแลเอื้ออาทรของวัตสัน
ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Rang theory) มีขอบเขตเนื้อหาสาระแคบลงและมีจำนวนมโนทัศน์น้อยกว่าทฤษฎีระดับกว้างเกิดจากการศึกษาวิจัยสามารถนําไปใช้อ้างอิงและขยายต่อได้ทดสอบได้นําไปเป็นหลักในการปฏิบัติชัดเจนขึ้นเช่นทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
ทฤษฎีระดับปฏิบัติ (Practice theory) มีความซับซ้อนน้อยสุด สามารถทดสอบได้ง่าย แล้วนำไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
ประโยชน์ของทฤษฎีต่อการปฏิบัติการพยาบาล
เป็นแนวทางในการนํากระบวนการพยาบาลมาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
แสดงถึงความเป็นเอกสิทธ์ิในวิชาชีพการพยาบาล(Autonomy)
วิวัฒนาการของทฤษฎีการพยาล
Florence Nightingaleเป็นบุคคลแรกที่พยายามสร้างศาสตร์การพยาบาลและเตรียมพยาบาลอย่างมีรูปแบบชัดเจน
Technical arts
Nursing properties
Nursing Sciences