Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม และอาชีวอนามัย - Coggle Diagram
บทที่ 4 การพยาบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
และอาชีวอนามัย
การอนามัยสิ่งแวดล้อม
ประเด็นปัญหาทางด้านสุขภาพที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม (WHO)
ยุง เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก ไข้มาลาเรีย
การขนส่ง โรงงานอุตสาหกรรม ทำให้เกิดมลพิษ
ควันไฟจากการทำอาหารในบ้าน เป็นสาเหตุการตายจากโรคระบบทางเดินหายใจ
การสัมผัสสารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
การอุปโภคบริโภค อาหารและน้ำที่ไม่สะอาด + สุขลักษณะส่วนบุคคลไม่ดี
การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ, Temp ⬆, ทำให้เชื้อโรคกลายพันธุ์ เกิดโรคระบาดชนิดใหม่
บทบาทหน้าที่พยาบาล
1) การระบุความเสี่ยง
หาสาเหตุของปัญหา
2) การประเมินสิ่งสัมผัส
ใช้ทักษะการสังเกต สัมภาษณ์
แล้วนำข้อมูลไปวิเคราะห์
4) การประเมินและการส่งต่อ
แหล่งทรัพยากรทางสุขภาพ?
5) การเป็นผู้พิทักษ์สิทธิ์
ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเปป็นจริง
3) การสื่อสารความเสี่ยง
มีการวางแผน กลยุทธ์ วิธีการดำเนินการ รวมถึงการให้ความรู้
แก่คนในชุมชน
การจัดการน้ำดื่ม น้ำใช้
หลักการจัดหาน้ำสะอาดเพื่ออุปโภคและบริโภค
ปริมาณน้ำเพียงพอและทั่วถึง
น้ำดื่ม 5 L/คน/วัน
น้ำใช้ 45 L/คน/วัน
น้ำคุณภาพดีได้มาตรฐาน
แหล่งน้ำ
น้ำผิวดิน eg. แม่น้ำ ห้วย คลอง ทะเล
ต้องปรับปรุงคุณภาพน้ำก่อนใช้ มักนำไปผลิตน้ำประปา
น้ำใต้ดิน ได้แก่ บ่อตื้น, บ่อบาดาล (ลึก > 15 m)
หลักการสร้างบ่อเพื่อเอาน้ำมาใช้
อยู่ที่สูง น้้ำท่วมไม่ถึง เหนือแแหล่งปฏิกูล
ห่างจากส้วม บ่อปฏิกูล ≥ 30 m
มีวงขอบบ่อ ป้องกันดินพัง
มีรางระบายน้ำทิ้งจากบ่อ มีฝาปิดปากบ่อมิดชิด
ใช้เครื่องสูบน้ำ
น้ำฝน
ไม่ใกล้แหล่งมลพิษ, ปล่อยให้น้ำฝนชะล้างหลังคาให้สะอาดก่อนค่อยกักเก็บ
การปรับปรุงคณภาพน้ำ
ทำให้ตกตะกอน eg. ตามแรงโน้มถ่วงโลก, สารส้ม
การกรอง
ใช้ความร้อน / วิธีการต้ม (boil water for 5 min ทำลาย bacteria, boil water for 15 min ทำลาย spore bacteria)
ใช้สารเคมี eg. Chlorine, Tincture iodine, Trioxygen, Potassium permanganate
ปรับค่า pH
การวัดค่าความสกปรกของน้ำ
ค่าปริมาณ oxygen ในน้ำ
(Dissolved Oxygen: OD)
ค่าที่เหมาะสม > 4 mg/L
DO ⬇ น้ำสกปรกมาก
ค่าปริมาณ oxygen ที่ใช้ในการย่อยสารอินทรีย์
(ฺBiological Oxygen Demand: BOD)
ค่าที่เหมาะสม < 6 mg/L
BOD ⬆ น้ำสกปรกมาก
ค่าปริมาณ oxygen ที่ใช้ในการ oxidation
(Chemical Oxygen Demand: COD)
**ใช้วัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มีสารเคมี
ค่ามาตรฐานน้ำทิ้งก่อนปล่อยสู่ธรรมชาติ < 100 mg/L
COD ⬆ น้ำสกปรกมาก
การจัดการด้านสุขาภิบาลอาหาร
หลักการพื้นฐานในการสุขภาภิบาลอาหาร
สะอาด ปลอดภัย
วัตถุดิบสดใหม่ ล้างก่อนนำมาปรุง มีภาชนะปิดมิดชิด
อาหารกระป๋อง ต้องมี อย หรือ มอก และต้องไม่บุบไม่บวมไม่มีสนิม
ใช้ที่ตักอาหาร หลีกเลี่ยงการใช้มือ
ภาชนะ อุปกรณ์ เครื่องใช้ที่เกี่ยวกับการปรุงอาหาร ต้องสูงจากพื้น ≥ 60 cm
สุขลักษณะส่วนบุคคล ได้แก่ ผู้ประกอบอาหาร ผู้เสิร์ฟอาหาร
การจัดการพื้นที่ประกอบอาหาร ได้แก่ การกำจัดขยะ เศษอาหาร, ห้องน้ำควรเป็นสัดส่วน
กับที่สถานที่ทำอาหาร, แสงสว่างที่เพียงพอ อย่างน้อย 300 lux
พฤติกรรมอนามัยในการบริโภคอาหาร
กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ
กินอาหารที่ปรุงสุก ไม่กินอาหารดิบ
การจัดการด้านสุขภิบาลขยะ
หลักการจัดการขยะ 3 R
(เพื่อลดปริมาณขยะ)
Reduce
Reuse
Recycle
การคัดแยกขยะ
ขยะรีไซเคิล eg. กระดาษ แก้ว ขวด ยางรถยนต์ พลาสติก เศษโลหะ
ขยะทั่วไป (ย่อยสลายยาก เอากลับมาใช้ไม่ได้) eg. พลาสติกห่อผลิตภัณฑ์ กล่องโฟมเปื้อนอาหาร
ขยะที่เป็นพิษหรืออันตราย eg. แบตเตอรี่ ถ่านไฟฉาย
ขยะติดเชื้อ
ขยะอินทรีย์ (ขยะเน่าเสีย ย่อยสลายเร็ว) eg. เศษอาหาร ใบไม้
การจัดการด้านสุขภิบาลสิ่งปฏิกูลและส้วม
ระบบที่ใช้น้ำขับเคลื่อน
ระบบที่ไมใช้น้ำขับเคลื่อน
การสุขาภิบาลที่อยู่อาศัยและสัตว์นำโรค
หลักการจัดที่พักอาศัย
มีความคงทน สามารถอยู่ได้อย่างน้อย 5 y ตามเกณฑ์ จปฐ
บ้านสูงเกิน 2 ชั้น ต้องมีบันไดหนีไฟ
มีส้วมถูกสุขลักษณะ 1 ที่ โดยห่างจากบ่อน้ำอย่างน้อย 30 m
อยู่ห่างจากแห่งปฏิกูลอย่างน้อย 100 m
มีการระบายอากาศที่ดี แสงสว่างเพียงพอ
มีการป้องกันสัตว์กัดแทะและแมลง โดยมีการกำจัดขยะและมีการระบายน้ำเสียที่ดี
การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค
1) การควบคุมและการกำจัดยุง
ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ eg. มีฝาปิดภาชนะกักเก็บน้ำ, ใช้ทรายอะเบท,
ใช้น้ำมันก๊าดราดผิวน้ำ, ไม่ให้มีน้ำท่วมขัง, เลี้ยงปลาหางนกยูง
ใช้สารเคมี eg. พ่นควันที่ผสมสารไซเพอร์เมทริน+น้ำมันดีเซล, ยากันยุง
ใช้ลวดตาข่ายปิดตามบ้าน ป้องกันยุงเข้า
การสำรวจลูกน้ำยุงลาย
ดัชนีวัดการสำรวจลูกน้ำยุงลาย
เทคนิคการสำรวจ
ประสานงานผู้นำชุมชน อสม อสส เพื่อประชาสัมพันธ์คนในชุมชน
ศึกษาแผนที่ของชุมชน, ระวังสัตว์ดุร้าย !! eg. หมา
แนะนำตัว แจ้งข้อมูล วัตถุประสงค์ก่แนเข้าสำรวจ ควรมีทีม 2 คน (คนบันทึกรานยงาน, คนสำรวจ)
สำรวจจากนอกบ้านเข้าไปในบ้าน ดูภาชนะที่มีน้ำขังทุกประเภท (ใช้ไฟฉายส่องขณะน้ำนิ่ง แล้วเคาะภาชนะ
ส่องถึงก้นภาชนะ) และบันทึกด้วยการขีด แทนการเขียนตัวเลข
แจกันทึบให้เทน้ำออก แจกันใสให้ดึงต้นไม้ขึ้น
2) การควบคุมและกำจัดแมลงวัน
3) การควบคุมและกำจัดแมลงสาบ
4) การควบคุมและกำจัดหนู
การแก้ไขเหตุรำคาญด้านสิ่งแวดล้อม
แนวทางการแก้ไข เมื่อมีคนร้องเรียน
สืบค้นข้อมูล ตรวจสอบดูข้อเท็จจริงก่อนว่าน่าเชื่อถือ?
โดยการตรวจสอบข้อมูลผู้ร้องเรียน ผู้ถูกร้องเรียน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่ ข้อมูลวิชาการ
เครื่องมือที่จะใช้ตรวจสอบ การกำหนดวันตรวจสอบข้อเท็จจริง
ลงพื้นที่ตรวจวินิจฉัย โดยการใช้เครื่องมือ การสัมภาษณ์ การสอบถามข้อมูลจาก
ปชชที่อยู่บริเวณนั้น และผู้ถูร้องเรียน รวมถึงการตรวจสอบเอกสารราชการ
การสรุป แปลผล และการออกคำแนะนำ โดยระบุข้อมูลทั่วไป
และข้อมูลผลตรวจจาเครื่องวิทยาศาสตร์ให้ผู่ที่เกี่ยวข้องทราบ
แหล่งน้ำ ทางระบายน้ำ ส้วม
ที่อยู่ในทำเลไม่เหมาะสม มีกลิ่นเหม็น
เหตุอื่น ที่รัฐกำหนด ในราชกิจจานุเบกษา
การเลี้ยงสัตว์จำนวนมากเกินไป
สถานประกอบการที่ไม่มีการระบายอากาศ
การระบายน้ำ การกำจัดสิ่งปฏิกูล หรือควบคุมมลพิษ
การกระทำที่เป็นเหตุให้เกิด แสง สี เสียง รังสี
ความร้อน สั่นสะเทือน ฝุ่นละออง เขม่า
การพยาบาลอาชีวอนามัย
ขอบเขตการดำเนินงาน 5 ด้าน ได้แก่
1) ส่งเสริม+รักษา
2) ป้องกัน
3) ปกป้องคุ้มครอง
4) จัดการคนทำงาน
5) ปรับงานกับคนให้เหมาะสม
สิ่งคุกคามทางสุขภาพ
Chemical
บทบาทพยาบาล
เฝ้าระวังและคัดกรองสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง
ให้ความรู้+สร้างความตระหนักของผลกระทบจากสารเคมี
มีการซ้อมแผนฉุกเฉิน eg. ไฟไหม้, สารเคมีรั่วไหล
อุปกรณ์ป้องกัน: หมวกนิรภัย, แว่นตา/หน้ากาก,
ถุงมือ, ชุดป้องกันสารเคมี, รองเท้าบูท
Physical
แสงสว่าง (Light)
แสงน้อยเกินไป ( < 50 lux): ตาทำงานหนัก ตาเมื่อยล้า มึนหัว ประสิทธิภาพในการทำงาน ⬇ เกิดอุบัติเหตุในการทำงานได้
แสงสว่างมากเกินไป ( > 1,000 lux): ทำให้การมองเห็น ⬇
ปวดตา วิงเวียน อาจเกิดอุบัติเหตุได้
บทบาทพยาบาล
ตรวจสุขภาพการมองเห็น
แนะนำให้พักสายตา q 15 min หรือกระพริมตาให้ถี่ขึ้น
การสั่นสะเทือน (Vibration)
โรคจากการทำงาน
Raynaun phenomenon (Dead finger)
Carpal-Tunnel syndrome
บทบาทพยาบาล
ส่งเสริมให้ทำงานในท่าทางที่ถูกต้อง จำกัดระยะเวลาทำงาน
ใช้ถุงมือ ลดการสัมผัสแรงสั่นสะเทือน
อุณหภูมิ (Temperature)
ความร้อน
บทบาทพยาบาล
จัดสวัสดิการ eg. จุดพัก จุดน้ำดื่ม
จัดอบรมให้ความรู้
ตะคริว
ผดผื่น
ขาดน้ำ
อ่อนเพลีย มีไข้ เป็นลม
เป็นลมแดด (Heat stroke)
ความเย็น
บทบาทพยาบาล
ให้ลดเวลาการสัมผัสความเย็น eg. พักที่ห้องอุ่น q 2 hr
จัดชุดป้องกันความเย็น
จัดเครื่องดื่มอุ่นๆ หลีกเลี่ยงคาเฟอีนและแอลกอฮอล์
โรคจากการทำงาน
Raynaun phenomenon (Dead finger)
รังสี (Radiation)
ชนิดแตกตัว: แกมม่า เอกซ์ ➡ เกิดมะเร็ง หรือ gene mutation
ชนิดไม่แตกตัว: อินฟาเรด UV ➡ ตาอักเสบ ต้อกระจก
บทบาทพยาบาล
ติดเครื่องหมายเตือนรังสี
ใช้อุปกรณ์ป้องกัน
ตรวจสุขภาพ
เสียง (Noise)
ถ้าเสียง > 85 dbA/8 hr นายจ้างต้องทำโครงการ
อนุรักษ์การได้ยิน เพื่อลดความเสี่ยง hearing loss
บทบาทพยาบาล
ตรวจสมรรถภาพการได้ยิน
โรคจากการทำงาน
โรคประสาทหูเสื่อม
เสียงที่อันตราย คือ > 90 dbA/8 hr
อุปกรณ์ป้องกัน: Ear plugs, Ear muffs
Biological
(Virus, Bacteria, Fungus, Parasite)
บทบาทพยาบาล
ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักการควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
ให้ภูมิคุ้มกัน: vaccine
การยศาสตร์ (Ergonomic)
เกิดความผิดปกติของกระดูและกล้ามเนื้อ
บทบาทพยาบาล
ให้ความรู้+ส่งเสริมท่าทางในการทำงานที่ถูกต้อง
จัดกิจกรรมเพิ่มความแข็งแรง+ยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ
Psychosocial
จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพ + ให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีจัดการกับความเครียด
ให้คำแนะนำหรือส่งต่อในกรณีที่ได้รับอันตรายจากจิตสังคม
ประเมินความเสี่ยง
หลักการควบคุมและป้องกันอันตราย
ในสถานประกอบการ
การให้บริการอาชีวอนามัย
การจัดบุคลากร
พนง ≥ 10 คน ควรมี Med+เวชภัณฑ์
พนง ≥ 200 คน มี Med+เวชภัณฑ์, ห้องพยาบาล 1 เตียง, Nurse 1 คน, แพทย์
พนง ≥ 1,000 คน มี Med+เวชภัณฑ์, ห้องพยาบาล 2 เตียง, Nurse 2 คน, แพทย์, รถ
การจัดบริการด้านสุขภาพอนามัย
ป้องกันโรค+ส่งเสริมสุขภาพ eg. ตรวจสุขภาพประจำปี
การรักษาพยาบาล eg. ปฐมพยาบาล การส่งต่อ
การฟื้นฟูสภาพ eg. ประเมินว่ากลับเข้ามาทำงานได้? พร้อม?
การตรวจอาชีวเวชศาสตร์ eg. ตรวจสมรรถภาพปอด
การมองเห็น การได้ยิน
การบันทึกเวชระเบียน+รายงานสถิติ
มีส่วนร่วมกำหนดนโยบาย/วางแผนเมื่อเกิดอุบัติภัย
การออกแบบหน่วยงาน
ป้ายชื่อชัดเจน, อยู่ชั้นล่าง เคลื่อนย้ายสะดวก, อยู่ในจุดที่ปลอดภัย,
ใกล้จุดดับเพลิง, สะดวกในการเข้าถึง, เงียบสงบ
โรคจากการประกอบอาชีพ
โรคที่เกิดจากการสัมผัส
สิ่งคุกคามสุขภาพในที่ทำงาน
ภาคเกษตรกรรม
วิธีป้องกัน
ใส่เสื้อผ้าปกปิดร่างกายมิดชิด
ล้างมือด้วยสบู่ทันที หลังจากทำงาน
อาบน้ำให้สะอาด เปลี่ยนเสื้อผ้า หลังเสร็จงานทุกครั้ง
พิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Organophosphate
Paraquat
Carbamate
Glyphosate
เข้าสู่ร่างกายทาง
หายใจ ผิวหนัง ปาก
ผลกระทบ: เวียนหัว เดินเซ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ชา ตะคริว
ภาคอุสาหกรรม
โรคประสาทหูเสื่อม
สัมผัสเสียงดัง ➡ hair cells บาดเจ็บ
สถานบันเทิง
งานก่อสร้าง
อุสาหกรรมโลหะ
งานตัด/เลื่อยไม้
โรคปอดจากการทำงาน
1) โรคปอดจากฝุ่นอนินทรีย์
(Pneumoconiosis)
โรคปอดจากฝุ่น Silica
(Silicosis)
อาชีพที่เสี่ยง: เหมืองแร่ โม่บดย่อยหิน ทำอิฐหรือเครื่องสุขภัณฑ์
โรคปอดจากแร่ใยหิน
(Asbestos)
อาชีพที่เสี่ยง: ทำกระเบื้องมุงหลังคา ท่อซีเมนต์ รื้อถอนอาคาร
2) โรคปอดจากฝุ่นอินทรีย์
โรคปอดชาวนา (Farmer's lung)
เกิดจากฝุ่นละอองที่ขึ้นราจากฟางข้าว
โรคปอดฝุ่นฝ้าย (Byssinosis)
เกิดจากการหายใจเอาฝุ่นฝ้าย ป่าน ปอ ลินิน
ที่อาจมีเชื้อราหรือแบคทีเรียเข้าไป
4) โรคปอดที่เกิดจากแก๊สหรือควันพิษบางชนิด
5) มะเร็งปอดและมะเร็งเยื่อหุ้มปอด
3) โรคหอบหืดจากการทำงาน
ลดความเสี่ยงทำยังไง?
ตรวจร่างกายประจำปี
Chest X-ray ดูปอด
ใช้อุปกรณ์ป้องกันทางเดินหายใจ
**ตรวจสมรรถภาพปอด
ออกกำลังกาย
โรคกระดูกและกล้ามเนื้อ
Low back pain
งานแบกหาม, งานก้ม
Carpal-Tunnel syndrome
แม่ครัว
พนักงานออฟฟิศ
ช่างทำผม
แม่บ้านทำความสะอาด
โรคพิษจากโลหะหนหัก
สารหนู (Arsenic)
พบได้ที่ไหน: การผลิตแบตเตอรี่, กำจัดศัตรูพืช, ผลิตน้ำยาถนอมเนื้อไม้
อาการ: ปวดท้อง, N/V,ท้องเสีย, ผิวหนังเป็นจุด (Raindrop apperance)
ปรอท (Mercury)
พบได้ที่ไหน: อุตสาหกรรมเหมืองแร่, การเผาถ่านหิน, การถลุงเหล็ก
พิษเฉียบพลัน: ไอปรอท ➡ ระคายเคืองปอด หลอดลมอักเสบ
พิษเรื้อรัง: อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร หลงลืม ไตวายเรื้อรัง
สารตะกั่ว (Lead)
พบได้ที่ไหน: โรงงานอุตสาหกรรม, ภาชนะเซรามิกที่
ไม่ได้มาตรฐาน, ขยะ Electronic, สีน้ำมันทาบ้าน
สะสมที่กระดูและเหงือก
อาการ: ปวดบิด (Colicky pain), N/V, หมดสติ, เด็กที่ได้รับ lead จะ IQ ⬇ พัฒนาการช้า
บทบาทหน้าที่ของพยาบาล
ในงานอาชีวอนนามัย
1) ส่งเสริมสุขภาพ+ป้องกันโรค ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
2) ประเมินทางสุขภาพ+เฝ้าระวัง รวบรวมข้อมูล ตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง
ตรวจสุขภาพประจำปี ตรวจอาชีวเวชศาตร์ เช่น สมรรถภาพปอด การได้ยิน การมองเห็น
5) การจัดการรายกรณี ดูแลแบบเบ็ดเสร็จแก่คนงานที่เจ็บป่วยและครอบครัวของเขา
3) เฝ้าระวังและค้นหาสิ่งคุกคามสุขภาพ เดินสำรวจสถานประกอบการ
4) การรักษาพยาบาลเบื้องต้นและการปฐมพยาบาล ดูแลฉุกเฉินและส่งต่อ
ุ6) ให้คำปรึกษา+ให้ความรู้
9) ควบคุมกำกับด้านกฎหมายและจริยธรรม
8) ศึกษาวิจัย
7) การบริหารจัดการและบริหารงาน วางแผนเมื่อเกิดอุบัติภัย+ร่วมกำหนดนโยบาย
10) ประสานงานในชุมชน สร้างเครือข่ายการทำงาน