Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้, นางสาวอภิภาวดี…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้
ภาวะสมองเสื่อมและโรคอัลไซเมอร์
Dementia and Alzheimer’s disease
พูดไม่ถูก (aphasia) ทำไม่เป็น (apraxia) ไม่รู้จัก ไม่รู้เรื่อง
สาเหตุ
ความเสื่อมสภาพ
จากโรคหลอดเลือดสมอง
การติดเชื้อ
การบาดเจ็บ
เนื้องอก
ขาดวิตามิน
โรคอัลไซเมอร์
เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด ปัจจุบันยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
มีอาการความจำเสื่อมลงไปทีละน้อยในเวลาหลายปี
อาการ
ความเปลี่ยนแปลงด้านความจำ
สับสนเรื่องวัน เวลา สถานที่ บุคคล
ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว หวาดระแวง
ซึมเศร้า เฉยเมย
ความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตประจำวัน
หรือไม่สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ ได้ ทั้งที่ปกติใช้อยู่เป็นประจำ
สมองเสื่อมที่สามารถรักษาให้หายได้
ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
การได้รับยาบางอย่าง เช่น การใช้ยากล่อมประสาทเป็นประจำ
การวินิจฉัย
ภาวะหลงลืมตามอายุ
ภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน
โรคซึมเศร้า
การพยาบาล
กระตุ้นฟื้นฟู 6 Domains
เฝ้าระวังเรื่องการหกล้ม
Pakinson disease
โรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมอง
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการ
อาการสั่นในขณะช่วงพัก
อาการที่ร่างกายมีสภาพแข็งเกร็ง
อาการเคลื่อนไหวร่างกายช้าลง
สูญเสียการทรงตัว
การรักษา
ยา
กายภาพบำบัด
ผ่าตัด
การผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก
การผ่าตัดฝังขั้วไฟฟ้าแล้วปล่อย ไฟฟ้าเข้าไปกระตุ้นสมอง
การดูแล
ระมัดระวังอุบัติเหตุ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในแต่ละระยะของโรค
ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
โรคที่มีการทำลายปลอกหุ้มเส้นประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง
รอยโรคจะอยู่ที่ white matter ในระบบประสาทส่วนกลาง
เส้นประสาทตา
สมองใหญ่
สมองน้อย
ก้านสมอง
ไขสันหลัง
อาการ
มีปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น
เห็นภาพซ้อน
ตามัว
สูญเสียการมองเห็น
รู้สึกเมื่อยล้าน
เวียนศีรษะ
กลั้นปัสสาวะและอุจจาระไม่อยู่
อาการทางจิตประสาท
ระบบการรับความรู้สึกในร่างกาย
(sensory system)
การรับความรู้สึกลดลง
การรับความรู้สึกที่ข้อต่อว่าอยู่ที่ตำแหน่งใดลดลง
การมองเห็น
ตากระตุก
รูม่านตาผิดปกติ
ปลายประสาทอักเสบ
(Peripheral neuropathy)
สาเหตุ
ขาดสารอาหาร (วิตามิน)
พิษของยา
โรคติดเชื้อ
ภาวะถูกบีบรัดหรือการได้รับบาดเจ็บของเสันประสาท
การรักษา
กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด
คุมระดับน้ำตาลในเลือด
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
ลดการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์
ออกกำลังกาย
การผ่าตัด
การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า
กายภาพบำบัด
Guillain - Barré syndrome (GBS)
Myelin sheath
ทำหน้าที่เป็นฉนวนรอบ axon ระหว่างตำแหน่งที่เกิดการนำกระแสประสาท
มีอัมพาตของเซลล์ประสาทการเคลื่อนไหว
อาการอ่อนแรงแบบปวกเปียก
อ่อนแรงจากขาค่อยๆ ลุกลามขึ้นมาแขน ใบหน้า ลำตัว
เกิดภาวะการณ์หายใจล้มเหลวได้
สาเหตุ
การได้รับวัคซีน
การผ่าตัดและการวางยาสลบ
โรคนอกระบบประสาท
อาการ
ด้านประสาทรับความรู้สึก
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการลุกลามเส้นประสาทสมอง
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 , 9 , 10 ,3
การรักษา
การฟอกพลาสมา
Intravenous immunoglobulin ( IVIG )
Corticosteroid
ไมแอสทีเนียกราวิส (Myasthenia Gravis : MG)
อาการ
เห็นภาพซ้อน
กลืนสำลัก เคี้ยวอาหารไม่ได้
การรักษา
ยา Mestinon
Thymectomy
เพศหญิงมากกว่าเพศชาย
เกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย
นางสาวอภิภาวดี รุ่งสว่าง
วันที่ 21/04/65