Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Shoulder dystocia, รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม C1, อ้างอิง บังอร ศุภวิทิตพัฒนา…
Shoulder dystocia
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
-
-
-
มารดาน้ำหนัก > 90 kg., GDM
ทารกตัวโต > 4000 gm., Post term
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- มารดามีโอกาสเกิดการตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
- มารดามีความกลัวและวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอด เนื่องจากคลอดยาวนาน
- ทารกมีโอกาสเกิด Fetal detress เนื่องจากคลอดไหล่ยาก
- ทารกมีโอกาสเกิด Brachial plexus injuries เนื่องจากมีการดึงหรือกดศีรษะทารกมากกว่าปกติ
- ทารกมีโอกาสเกิดภาวะ Birth asphyxia เนื่องจากการคลอดที่ยาวนาน
การพยาบาล/การช่วยเหลือ
2. Suprapubic pressure + McRobert Maneuver
ผู้ช่วย 2 คนยกขาที่อยู่ด้านข้าง ให้ข้อสะโพก ข้อเข่างอพับชิดท้อง ให้ผู้ช่วยที่อยู่ด้านหลังทารก กดบริเวณเหนือกระดูกหัวหน่าว ขณะผู้ที่คลอดกำลังดึงศีรษะลงมา
-
1.ประเมินการคลอดไหล่ยาก
1.1 Call for help
- แพทย์ฝสูติแพทย์
- วิสัญญีแพทย์
- กุมารแพทย์
- พยาบาลผดุงครรภ์
1.2 Intermittant cath
1.3 Epsiotomy
-
-
-
6. การคลอดไหล่หลัง สอดมือเข้าไปล่วงแขนหลัง ดันบริเวณข้อพับแขนให้ข้อศอกงอแล้วจับมือของ ทารกดึงผ่านหน้าอกออกมาภายนอก พร้อมกับหมุนไหลในแนวเฉียงทำให้ไหล่หน้าหลุดออกมา
-
7. Zavanelli maneuver หมุนและดันศีรษะทารกกลับเข้าช่องเชิง กรานแล้วรีบทำการผ่าตัดคลอด แต่เป็นวิธีที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงต่อผู้คลอดและทารก
-
5. Rubin's maneuver ผลักไหลหน้าให้เข้าหาทรวงอก ใช้มือวางที่ด้านหลังของไหล่หน้าแล้วผลักไหล่หน้าให้ หมุนไปทางด้านหน้า
-
-
กลไกการคลอด
พบ : ไหล่หลังอยู่ใต้ต่อ promonyary of sacrum ไหล่หน้าอยู่เหนือระหว่างรอยต่อกระดูกหัวเหน่า (Symphysis pubis)
ความหมาย
ภาวะที่มีการติดแน่นของไหล่บริเวณใต้กระดูก หัวเหน่า ศรีษะของทารกสามารถคลอดได้ปกติ แต่ไม่สามารถคลอดไหล่และลำตัวออกมาได้
การประเมินสภาพ
2.ซักประวัติ โรคประจำตัวต่างๆ เช่น DM,ครรภ์เกินกำหนด
1.ภาวะจิตสังคม ประเมินความรู้สึกวิตกกังวลและความหวาดกลัวของผู้คลอดเกี่ยวกับอันตรายจากการ คลอดไหล่ยาก
4.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- ตรวจหาความสมบูรณของเม็ดเลือด
- ตรวจหาหมู่เลือด
3.การตรวจร่างกาย
- การตรวจขนาดหน้าท้อง เพื่อคาดคะเนน้ำหนักทารก
- PV : ไม่มีความก้าวหน้าของการเคลื่อนต่ำเข้าสู่ช่องเชิงกราน ของศรีษะทารกหรือพบก้อนโนที่ศีรษะทารกและมีการเกย กันของกระโหลกศีรษะทารกมากกว่าปกติร่วมกับศีรษะ ของทารกอยู่สูง
- สังเกตช่องคลอด : Head Crown แล้วไม่มีการเคลื่อนต่ำลงมาเมื่อมดลูกมีการหดรัดตัว (Turtle sign)
การพยาบาล
มารดา
- ประเมิน V/S มารดาขณะได้รับการทำคลอดทุก 5 นาทีอย่างต่อเนื่อง และภายหลังช่วยคลอดไหล่ยากทุก 15 นาทีใน 1 ชั่วโมง ทุก 30 นาทีในชั่วโมงที่สอง และทุก 4 ชั่วโมง ใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
- ประเมินช่องทางคลอดและแผลฝีเย็บ ตรวจสอบการฉีกขาดของหนทางการคลอด และเย็บซ่อมแผลฝีเย็บ
- ประเมินระดับยอดมดลูก และการหดรัดตัวของมดลูก
- ประเมิน Pain Score จากการใช้เครื่องมือในการทำหัตถการการคลอด และให้ยาบรรเทาความปวดตามการรักษาของแพทย์
- ดูแลให้ได้รับสารน้ำและยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามการรักษาของเพทย์
- ดูแลให้ได้รับ ATB ตามแผนการรักษา
- ประเมินกระเพาะปัสสาวะและรูขับปัสสาวะ
- ประเมินสภาพจิตใจของมารดา เพื่อลดความวิตกกังวล
- การบันทึกเหตุการณ์ต่างๆรวมถึงการดูแลรักษาตามขั้นตอนที่ถูกต้องตรงเวลา
ทารก
- ตรวจร่างกายทารก ประเมินอาการบาดเจ็บ
- เฝ้าระวังภาวะขาดออกซิเจนการติดเชื้อการบาดเจ็บจาก การช่วยคลอดด้วยหัตถการต่างๆ
- ดูแลให้ได้รับความอบอุ่นเพื่อป้องกันภาวะ Birth asphyxia
- ประเมินร่างกายทารกตามหลัก APGAR score และให้การช่วยเหลือเมื่อเกิด Birth asphyxia
- ให้ออกซิเจนทารกอย่างเพียงพอด้วยการประเมินผ่าน Pulse Oximeter อย่างต่อเนื่อง
- ประสานกับหน่วย NICU เพื่อส่งย้ายทารกไปรับการรักษาอย่างทันท่วงที
- ประสานกับหน่วย NICU เพื่อส่งย้ายทารกไปรับการรักษาอย่างทันท่วงที
- ประสานกับกุมารแพทย์ เพื่อแจ้งต่อมารดาและญาติเพื่อให้เกิดความเข้าใจต่อเหตุการณ์ที่เกิดและให้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจที่จะดูแล รักษาทารกแรกเกิด
-
-
อ้างอิง บังอร ศุภวิทิตพัฒนา และ ปิยะภรณ์ ประสิทธิ์วัฒนเสรี.(2562). การพยาบาลและการผดุงครรภ์สตรีที่มีครรภ์เสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน. (พิมพ์ครั้งที่ 1). คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่