Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 ระบบทางเดินปัสสาวะ - Coggle Diagram
บทที่8 ระบบทางเดินปัสสาวะ
ไต
หน้าที่
การกรอง การดูดกลับ
การขับน้ำ ของเสีย และสารพิษต่างๆออก
ควบคุสภาพความเป็นกรด-ด่างให้เป็นปกติ
รักษาสมดุลของน้ำ และ electrolyte
สร้างฮอร์โมนที่สำคัญ คือฮอร์โมนอีริโธปอยติน (Erythopoietin) มีฤทธิ์กระตุ้นไขกระดูกให้ผลิตเม็ดเลือดแดงออกสู่กระแสเลือด
การถ่ายปัสสาวะ (voiding dysfuntion)
ถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด (hematuria)
ไม่ถ่ายปัสสาวะเลย (anuria)
ปัสสาวะน้อย (oliguria)
ถ่ายปัสสาวะบ่อย (frequency of urine)
การถ่ายปัสสาวะปวด (painful urination)
การถ่ายปัสสาวะลาบาก (difficulty urination)
การถ่ายปัสสาวะไม่ออก (retention of urine)
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่แบบไหลเล็ด
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่เมื่อมีการกระตุ้น
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่แบบไหลล้น
การเตรียมตรวจพิเศษในระบขับถ่ายปัสสาวะ
อุตราซาวท์
การถ่ายรังสีธรรมดา
การฉีดสารทับแสงเข้าหลอดเลือดดำแล้วถ่ายภาพ
ข้อห้ามสำหรับการตรวจ IVP
การตรวจไตและส่วนประกอบ
การส่องกล้องกระเพาะปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้จากการตรวจ
มีเลือดออก
กระเพาะปัสสาวะทะลุ
การติดเชื้อ
กรวยไตอักเสบ
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
กรวยไตอักเสบเรื้อรัง
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต
จากการอุดตันทางเดินปัสสาวะ
เกิดจากเนื้อไตเอง
ความหมาาย
อัตราการกรองลดลง มีการคั่งของเสียในร่างกาย มีภาวะเสีย สมดุลย์ของสารน้ำ อิเลคโตรลัยท์ กรด – ด่างในร่างกายขึ้น สุดท้ายเกิดภาวะยูรีเมีย
พยาธิสภาพ
ระยะเริ่มแรก (initial phase)
การหลั่งสารที่ทำให้หลอดเลือดทั่วร่างกายหดตัว ซึ่งมีผลต่อการปรับระดับการไหลเวียนของเลือด
ระยะที่มีการทำลายของเนื้อไต (maintainance)
พบว่าเนื้อไตมีการอุดตันที่หลอดฝอยไตและมีเนื้อไตวาย เกิดจากขาดเลือดไปเลี้ยงเป็นเวลานาน
ระยะที่ไตเริ่มฟื้นตัว (recovery phase)
มีการซ่อมแซมของเนื้อเยื่อไต ปัสสาวะจะเริ่มออกมากขึ้น
ผลกระทบของไตวายเฉียบพลัน
ภาวะไม่สมดุลของอีเล็คโตรลัยท์
โปแตสเซี่ยมสูง (hyperkalemia)
ไตขับโปแตสเซียมออกจากร่างกายได้น้อยและรับประทานอาหารที่มีโปแตสเซียมมาก
โซเดียมต่ำ (hyponatremia)
มีน้ำคั่งหรือน้ำเกิน ซึม สับสน หมดสติ ชัก ท้องเดิน
โซเดียมสูง (hypernatremia)
ชา เกร็ง กระตุก ตะคริว มือจีบ
แคลเซี่ยมต่ำ (hypercalemia)
ร่างกายได้น้อย
ฟอสเฟตสูง (hyperphosphotemia)
แมกนีเซียมออกจากร่างกายได้น้อย ผู้ป่วยมีอาการง่วงซึม
แมกนีเซียมสูง (Hypermagnesemia)
หลับ EKG PR Interval และ QT ห่างหัวใจเต้นช้า และHeart Block
ภาวะทุโภชนาการ
มีการสลายโปรตีน รับประทานอาหารได้น้อยในรายที่ล้างไตจะสูญเสียทางน้ำยาล้าง ไต
หัวใจและหลอดเลือด
ภาวะน้ำเกิน
ปอดบวมน้ำ
หัวใจวาย
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ความดันโลหิตสูง
ระบบเลือด
ซีด
ไม่มีการสร้าง erythropoietin เม็ดเลือดถูกท้าลายเร็วขึ้นแตกง่าย เนื่องจาก uremic toxin
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
การท้างาน platelete ลดลง ไฮโดรเจนขับออกจาก
Metabolic acidosis
โซเดียมดูดซึมลดลง ไบคาร์บอนเนตดูดซึมลดลง การขับเกลือ ฟอสเฟตลดลง และการขับแอมโมเนียลดลง
ระบบหายใจ
ปอดอักเสบ
เสมหะเหนียว อ่อนเพลีย ซึม การไอถูกกดด้วยภาวะUremia , pulmonary macrophage ลดลง
ปวดบวมน้ำ
มีภาวะน้ำเกิน หลอดเลือดฝอยในปอดมี permeability สูง
ประสาทและกล้ามเนื้อ ง่วงซึม สับสน สติปัญญาลดลง หมดสติ
พิษของ uremia และความไม่สมดุลของอีเล็คโตรลัยท์
ผิวหนังซีด เหลือง ผิวแห้ง คัน
ภาวะ uremia และ urochrome pigment ขับออกทางผิวหนัง การสร้างไขมันและ ต่อมเหงื่อลดลงแคลเซี่ยมและฟอสเฟตจับที่ผิวหนัง
ภาวะจิตสังคม จิตประสาทแปรปรวน
สูญเสียการรับรู้ สติปัญญา
พิษของ uremia
ต่อมไร้ท่อ
Half life ของ insulin ยาวนานผิดปกติ
กระดูก กระดูกบาง หักง่าย
การดูดซึมของฟอสเฟตและวิตามินดีลดลง มีการจับตัวของผลึกแคลเซี่ยมฟอสเฟตใน เนื้อเยื่ออ่อน (soft tissue)