Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GDMA2 - Coggle Diagram
GDMA2
-
ข้อมูลส่วนตัว
-
at LR
สรุปตาราง Labour record
เวลา 07.00-07.30 น. I>10' no contraction,os closed
เวลา 07.45 น. ผู้ป่วยได้รับยา cytotec 200 mcg tab ⅛ tab vaginal suppo
I>10' no contraction
PV ได้ DIL 1 cm,EFF 50%,station -2,MI
ตั้งแต่เวลา 07.45-09.20 น.
I>10' no contraction
PV ได้ DIL 1 cm,EFF 50%,station -2,MI
-
เวลา 09.30 น.
I 3',D 30", In +
PV ได้ DIL 1 cm,EFF 50%,station -2,MI
เวลา 10.00 น.
I 3',D 40",In +
PV ได้ DIL 1 cm,EFF 50%,station -2,MI
-
ข้อมูลทางทฤษฎี
พยาธิสภาพ
การตรวจคัดกรอง
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
-การแท้งบุตร
-การติดเชื้อ
-ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
-รกเสื่อม
-ทารกเจริญเติบโตช้า
-คลอดยาก
-ตกเลือดหลังคลอด
ด้านทารก
-มีขนาดใหญ่ผิดปกติ(macrosomia)และน้ำหนัก>4,000 g
-มีความพิการแต่กำเนิด
-คลอดก่อนกำหนด
-ภาวะตัวเหลือง
-ภาวะแคลเซียมต่ำในเลือดทารก
-Hypoglycemia หลังทารกคลอดเพราะไม่ได้รับน้ำตาลจากมารดาหลังคลอด
แนวทางการดูแลรักษา
GDMA1
การควบคุมอาหาร
คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนร้อยละ 50 เช่น ข้าวซ้อมมือ ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีต
โปรตีนจากเนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่ำ หรือนมละละ 20
ไขมันพืช ร้อยละ 30
การออกกำลังกาย
ควรออกวันละ 30 นาทีและไม่หักโหมจนเกินไปเน้นที่กล้ามเนื้อส่วนบน หลีกเลี่ยงท่าที่จะไปกระทบกระเทือนบริเวณท้อง
-
การซักประวัติ เพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยง ได้แก่
-อายุ 30 ปีขึ้นไป
-เคยมีประวัติเป็นเบาหวานในครรภ์ก่อน
-น้ำหนักตัวมาก BMI>27
-มีญาติสายตรงเป็นเบาหวาน
-ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ >/= 1+
-มีประวัติไม่ดีทางสูติศาสตร์ ได้แก่ ทารกตายคลอดไม่ทราบสาเหตุ,ทารกพิการโดยกำเนิด,คลอดบุตรน้ำหนักตัวมากกว่า 4000 กรัม,ทารกเสียชีวิตในครรภ์
-ตรวจพบมีภาวะความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์หรือมีประวัติโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
-พบภาวะตั้งครรภ์แฝดน้ำ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจปัสสาวะ(Urine test)ตรวจน้ำตาลกูโครสในปัสสาวะควรตรวจ 2 ครั้งขึ้นไป
ตรวจหาระดับน้ำตาลกูโครสในเลือดโดยหาน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร
ตรวจหา HbA1c
ทดสอบความทนตอบกูโครส(Glucose tolerance test : OGTT)
ทดสอบหาปริมาณน้ำตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชั่วโมง
(2 hours postprandial)
-
-
การวินิจฉัย
การแปลผล GCT50 gm ค่าปกติ 0-140 mg/dL
การแปลผล100 gm OGTT
Fasting : 95 mg/dL
1 hr : 180 mg/dL
2 hr. : 155 mg/dL
3 hr. : 140 mg/dL
ชนิดของ GDM
•GDMA1 การตรวจวินิจฉัยพบค่า 50BS มีผิดปกติ,ค่า OGTT มีความผิดปกติตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป และพบว่ามีค่าFasting </= 95 mg/dL และค่า 2-hr postprandial </= 120 mg/dL
•GDMA2 การตรวจวินิจฉัยพบว่าการตรวจวินิจฉัยพบค่า 50BS มีผิดปกติ,ค่า OGTT มีความผิดปกติตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไปและพบว่ามีค่าFasting >/= 95 mg/dL และค่า 2-hr postprandial >/= 120 mg/dL
-
-
ขณะตั้งครรภ์มีการเปลี่ยนแปลงของMetabolism โดยรกจะผลิตฮอร์โมนและเอนไซม์ที่มีฤทธิ์ต่อต้านอินซูลินเข้าสู่กระแสเลือด ได้แก่ hPL,Estrogen,Progesterone,Polactin และต่อมหมวกไตของทารกจะผลิก Cortisol เพิ่มขึ้นฮอร์โมนดังกล่าวทำให้เนื้อเยื่อตอบสนองต่ออินซูลินลดลงเนื่องจากภาวะดื้ออินซูลิน(insulin resistance)และเพิ่มการใช้พลังงานจากไขมันเพื่อสงวนพลังงานจากน้ำตาลนั้นไว้ให้กับทารกในครรภ์ เพิ่มความอยากอาหาร ความไวต่ออินซูลินลดลง จนในที่สุดทำให้มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติในระยะหลังรับประทาน(postprandial hyperglycemia)
Induction of Labor
ข้อบ่งชี้
Maternal medical problems มารดาที่มีปัญหาด้านสุขภาพร่างกาย ( DM , heart ,lung and renal disease)
มารดาเป็น GDMA2 GA 38+3 wks. ให้มารดา Induction เพื่อป้องกันรกเสื่อมและภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจเกิดขึ้นกับมารดาและทารก
Hypertensive disorder in pregnancy มารดาที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (preeclampsia, eclampsia)
-
-