Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบแผนดูแลสุขภาพ (Functional health patterns) - Coggle Diagram
แบบแผนดูแลสุขภาพ (Functional health patterns)
พัฒนาโดย มาร์จอรีย์ กอร์ดอน
มี 11 แบบแผน
1.แบบแผนการรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ(Health Perception-Health Management Patterns)
เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความคิด ความเข้าใจของบุคคลต่อภาวะสุขภาพ ถูกต้องเหมาะสมหรือไม่
การซักประวัติ
ประวัติความถี่ในการเกิดอาการเจ็บป่วยบ่อยเพียงใด
มีความรู้เหลกี่ยวกับโรคที่เป็นสาเหตุของโรคที่เป็นหรือไม่
การตรวจร่างกาย
การรับประทานยา
การทำความสะอาดร่างกายตนเอง การอาบน้ำ แปรงฟัน
การตรวจร่างกาย
ความสะอากร่างกาย เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย
ความร่วมมือในการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยหรือครอบครัว
ลักษณะทั่วไปและความพิการ เช่น ท่าทางการเดิน การบุกนั่ง การเคลื่อนไหว การพูดคุย
2.แบบแผนด้สนโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร (Nutritional-Metabolism Patterns)
ประเมินพฤติกรรมการรับประทานอาหาร อาหารที่ควรสอดคล้องกะบน้ำหนักตัว ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับสารอาหาร ประเมินการทำงานของร่างกาย
การซักประวัติ
แบบแผนเกี่ยวกับบริโภคนิสัยและแบบแผนการดำเนินชีวิต กินอาหารเป็นเวลาหรือไม่ อาหารที่รับประทานเป็นประจำ ชนิด เวลา ปริมาณที่รับประทานแต่ละวัน
ประวัติการเพิ่ม การลดของน้ำหนักตัว
ประวัติการเป็นโรคเกี่ยวกับการเผาผลาญอาหารที่ผิดปกติทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
การรับประทานยาที่เกี่ยวข้องกับการเผาผลาญสารอาหาร
การตรวจร่างกาย
ตรวจสภาพของผิวหนังและเยื่อบุว่าซีดหรือไม่ สังเกตจากสีจองผิวหนัง ริมฝีปาก เยื่อบุตา ตาขาว ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
สังเกตอาการที่เกิดขึ้นจากการมีปัญหาการรับประทานอาการ อารกลืนลำบาก อาการคลื่นไส้
สังเกตพฤติการรับประทานอาหาร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจเพื่อประเมินปัญหาเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ
การตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้อง ประเมินควิผิดปกติของอวัยวะภายในช่องท้องและทางเดินอาหาร
3.แบบแผนการขับถ่ายของเสีย (Elimination Patterns)
การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยด้วยโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะหรือ ไต
ประวัติการใช้ยา ยาขับปัสสาวะ ยาลดความดันโลหิต
ปัสสาวันละกี่ครั้ง จำนวนมากน้อยเท่าใด ชอบกลั้นปัสสาวะหรือไม่
การตรวจร่างกาย
สังเกตสี ปริมาณ ลักษณะปัสสาวะที่ผู้ป่วยขับออก มีความผิดปกติหรือไม่
ตรวจดูลักษณะท้อว การเคลื่อนไหวของลำไส้
เป็นการรวบรามข้อมูลเพื่อประเมินกระบวนการขับถ่าย ลักษณะ ปริมาณ จำนวนครั้งที่ของเสียออกจากร่างกาย การเปลี่ยนแปลงกระบวนการขับถ่ายเนื่องมาจากความเจ็บป่วย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจปัสสาวะ ประเมิณความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
การส่องกล้องเข้าทางทวารหนักเพื่อหาความผิดปกติของลำไส้ใหญ่
4.แบบแผนด้านการมีกิจกรรมและการออกกำลังกาย (Activity-Exercise Patterns)
การซักประวัติ
กิจกรรมในงานอาชีพหนักเบาอย่างไร
การออกกำลังกาย ชนิดของการออกกำลังกาย ระยะเวลาในการออกกำลังกาย
ความสามารถในการปฏิบัตรกิจวัตรประจำวันสามารถทำอะไรได้บ้าง ทำได้ตามปกติหรือทำกิจกรรมได้จำกัด
การได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุต่อกระดูก การเป็นโรคเกี่ยวกับกระดูก
การตรวจร่างกาย
สังเกตความสามารถการทำกิจกรรมต่างๆ
ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของแขนขา
ตรวจร่างกายระบบต่างๆ เพื่อประเมินความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ
เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินระดับความสามารถในการประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวัน การใช้เวลาว่าง การออกกำลังกาย การทำกิจกรรมที่เหงื่อออก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจเลือดและเอกซเรย์ปอด เพื่อประเมินภาวะผิดปกติ
5.แบบแผนการนอนหลับพักผ่อน (Sleep-rest Pattern)
แบบแผนเกี่การนอนหลับ การพักผ่อน ปัญหาเกี่ยวกับการนอน ปัจจัยเสริม ปัจจัยเสี่ยง และอุปสรรคต่อแบบแผนการนอน
การซักประวัติ
เป็นคนนอนดึกหรือนอนแต่หัวค่ำ นอนวันละกี่ชั้วโมง กลางวันกี่ชั่วโมง กลางคือกี่ชั่วโมง เพียงพอหรือไม่
ก่อนนอนต้องฟังเพลง ฟังธรรมะ ดื่มนม เครื่องดื่ม เงียบสงบไม่มีแสง หรือเปิดไฟสว่าง
นอนมากไป นอนน้อย นอนไม่หลับ นอนยาก หลับไม่สนิท
สังเกตหน้าตาว่านอนพักผ่อนพอหรือไม่ ความแจ่มใส ซึม ง่วง หาวนอนบ่อย
6.แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้ (Cognitive-perceptual Pattern)
1.การรับรู้ความรู้สึกและการตอบสนอง
การรับรเกี่ยวกับความเจ็บปวด
การรับทางผิวหนัง
การมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น การรับรส
2.ความสามารถทางสติปัญญา
แบบแผนเกี่ยวกับความสามารถและพัฒนาการทางสติปัญญา เกี่ยวกับความคิดความจำ การตัดสินใจ
การซักประวัติ
ความรู้สึกทั่วไป สุขสบายหรือไม่สุขสบาย
พัฒนาการดเสติปัญญา การคิด การจำ การตัดสินใจ
ประวัติการได้รับยาบางชนิดที่มีผลต่อความคิด
การตรวจร่างกาย
ประเมินความรู้สึกตัว การลืมตา การสื่อภาษา การเคลื่อนไหว
สังเกตลักทั่วไป รูปร่าง ลักษณะ หน้าตา ท่าทาง การดูแลสุขอนามัย
ประเมินระดับสติปัญญาโดยใช้แบบสอบถาม
7.แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์ (Self perceptionxSelf concept Pattern)
การซักประวัติ
ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับความสามารถ ความสามารถในการปฏิบัติงาน
ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับการสูญเสียอวัยวะจากการเป็นโรค การผ่าตัด
ความรู้สึกต่อภาพลักษณ์ทั่วไป รู้สึกว่าอ้วน ผอม สูงหรือเตี้ย
การตรวจร่างกาย
สังเกตความสนใจของผู้ป่วย
การแต่งกาย บุคลิกภาพ
การกล่าวถึงตนเอง
การสังเกตปฏิกิริยาตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการสูญเสีย เช่น อาการอาย
แบบแผนที่เกี่ยวกับความคิด ความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อตนเอง การมองตนเอง หน้าตา ความพิการ คุณค่า
8.แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ (Role and Relationship
การซักประวัติ
หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและสมาชิกคนอื่นๆต่อครอบครัว
สัมพันธภาพของผู้ป่วยกับครอบครัว เพื่อนร่วมงาน เพื่อนบ้าน
โครงสร้างครอบครัว เช่น จำนวนสมาชิกในครอบครัวใครบ้างหรืออยู่ตัวคนเดียว
ตำแหน่งความรับผิดชอบต่อหน้าที่ การงาน อาชีพ
แบบแผนเกี่ยวบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ การติดต่อสื่อสารและการมีสัมพันธภาพกับบุคคลภายในครอบครัวและสังคม
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤตต่างๆ ท่าทางที่แสดงออกต่อครอบครัวและบุคคลในครอบครัวผู้ป่วย
9.แบบแผนเพศและการเจริญพันธุ์ (Sexuality and Reproduction)
การซักประวัติ
การเจริญ และการทำงานของระบบสืบพันธุ์
การมีเพศสัมพันธ์ ปัญหาเพศสัมพันธ์ การป้องกันการติดต่อ
การมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อท่างเพศสัมพันธ์
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมทางเพศจากลักษณะท่าทางที่แสดงออก ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น การใช้ภาษา คำพูด รวมทั้งการแต่งกายที่เหมาะสม
เพศหญิง ตรวจเต้านม ต่อมน้ำเหลือง อวัยวะเพศหญิง
เพศชายตาราวจอวัยวะเพศชาย ตรวจอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
แบบแผนเกี่ยวกับพัฒนาการตามเพศมีอิทธิพลมาจากพัฒนาการด้านร่างกายและอิทธิพลของสังคม สิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดู
10.แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญความเครียด (Coping and Stress tolerance)
การซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป เช่น อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพสมรส ความสัมพันธ์ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมที่บ้าน
สัมภาเกี่ยวลักษณะอุปนิสัย อารมณ์พื้นฐานของผู้ป่วย
ซักถามสิ่งที่ทำให้เกิดความเครียด
อาการเมื่อเกิดความเครียด
วิธีการจัดการกับความเครียด
แบบแผนเกี่การรับรู้ลักษณะอารมณ์พื้นฐาน การรับรู้เกี่ยวกับความเครียด วิธีการแก้ไขและจักชดการกับความเครียด
การตรวจร่างกาย
ตรวจสอบพฤติกรรมที่บ่วชี้ถึงความเครียด ความเศร้า ความวิตก
11.แบบแผนคุณค่าและความเชื่อ (Value and Belief)
แบบแผนเกี่ความเชื่อ ความศรัทธา สิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจ
การซักประวัติ
สิ่งสำในชีวิต สิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ อาจเป็นบุคคล วัตถุ สิ่งของ ศาสนา ความดี
ความหวังหรือเป้าหมายในชีวิต
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพ ความเชื่อการเกิดโรค การรักษาพยาบาล
การตรวจร่างกาย
สังเกตคำพูดของผู้ป่วยและญาติที่แสดงถึงการให้คุณค่าและการมีความเชื่อด้านต่างๆ
สังเกตการแสดงออกที่แสดงถึงความเชื่อต่างๆ เช่น การมีพระพุทธรูป สร้อยพระ มีวัตถุมงคลบูชา
สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกทางสีหน้า กริยาท่าทาง รวมทั้งการแสดงออกทางอารมณ์ เช่น ซึมเศร้า แยกตัว โกรธ
ใช้เป็นแนวคิดในการประเมินภาวะสุขภาพของบุคคล ครอบครัว ชุมชน ทั้งภาวะปกติและเจ็บป่วย
องค์ประกอบของแบบแผนสุขภาพแต่ละแบบแผน
พฤติกรรมภายใน
พฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่าหรือใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ตรวจสอบได้
กระบวนการคิด
กระบวนการทำงานทางกาย
ระบบหัวใจ
ระบบหายใจ
หลอดเลือด
เจตคติ
ความคิดเห็น
ค่านิยมของบุคคล
ความรู้สึก
พฤติกรรมภายนอก
การกระทำที่แสดงให้เห็นได้ รับรู้ ตรวจสอบได้
พฤติกรรมที่ไม่ใช่คำพูด
ท่าทาง
การหัวเราะ
กิริยา
การตรวจใช้เครื่องมือทางการแพทย์
การตรวจวัดสัญญาณชีพ
การเอกซเรย์
พฤติกรรมที่เป็นคำพูด
การตรวจห้องปฏฺิยบัติการ
การตรวจเลือด
การตรวจสิ่งคัดหลั่ง
ปัจจัยส่งเสริมพฤติกรรมและอุปสรรค
พฤติกรรมภายนอก และพฤติกรรมภายในมีความเกี่ยวข้องกัน
พฤติกรรมภายในเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมภายนอก พอใจหรือไม่พอใจจะแสดงออกมาให้สังเกตได้
Nursing Process
การประเมินภาวะสุขภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การนำไปปฏิบัติ
การประเมินผล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ได้จากการซักประวัติ การสังเกต การตรวจร่างกาย
ข้อมูลปรนัย (Objective data)
ได้จากการสังเกต ตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษ
ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ซักประวัติจากผู้รับบริการ หรือญาติ