Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดแบบแผนสุขภาพ (Functional health patterns) - Coggle Diagram
แนวคิดแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพ
พัฒนาโดย มาร์จอรีย์ กอรด์อน(MajoryGordon)
การประเมินภาวะสุขภาพของบุคคล ครอบครัวหรือชุมชนทั้งในภาวะปกติและภาวะเจ็บป่วย
ความหมายของแบบแผนสุขภาพ
แบบแผนสุขภาพ
พฤติกรรมด้านสุขภาพของบุคคลในเกิดช่วงเวลาหนึ่ง
แบบแผน
พฤติกรรมของบุคคลที่ต่อเนื่องกัน
องค์ประกอบของแต่ละแบบแผน
พฤติกรรมภายนอก
การกระทำที่สังเกตเห็นได้ รับรู้และใช้เครื่องมือตรวจสอบได้
พฤติกรรมที่เป็นคำพูด ไม่ใช่คำพูด การตรวจโดยใช้เครื่องมือทางการแพทย์ หรือการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ปัจจัยส่งเสริมพฤติกรรมและอุปสรรค
พฤติกรรมภายใน
พฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์โดยตรง
การทำงานทางกาย ในระบบต่างๆ เช่น ระบบหายใจ ระบบหลอดเลือด
การรวบรวมข้อมูล
การประเมินผู้ป่วยโดยใช้กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซักประวัติ สังเกต ตรวจร่างกาย ตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ซักประวัติจากผู้ป่วยหรือญาติ
ข้อมูลปรนัย (Objective data)
ข้อมูลได้จากการสังเกต ตรวจร่างกาย ห้องปฏิบัติการ ตรวจพิเศษ
1.แบบแผนการรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
ประเมินความคิด ความเข้าใจต่อภาวะสุขภาพของตนเองและผู้ที่ตนรับผิดชอบ
พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน ดูแลรกษาและฟื้นฟูสภาพร่างกาย
การซักประวัติ
การรับรู้สุขภาพตนเองและบุคคลที่รับผิดชอบ
มีความรู้เกี่ยวกับโรค สาเหตุของโรคถูกต้องหรือไม่
มีความต้องการความช่วยเหลืออย่างไร
ตรวจร่างกายประจำปี ประวัติการแพ้สารต่างๆ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะทั่วไปและความพิการมีความปกติหรือไม่ ความสะอาด ความร่วมมือ สังเกตการปฏิบัติตน ได้รับการดูแลจากครอบครัว
2.แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
ประเมินพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การทำงานของร่างกาย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการได้รับสารอาหาร
การซักประวัติ
แบบแผนเกี่ยวกับบริโภคนิสัย การดำเนินชีวิต อุปนิสัยในการรับประทานอาหาร
ประวัติการเป็นโรคระบบทางเดินอาหาร
ปัญหาในการรับประทานอาหาร เช่นการเคี้ยว การกลืนอาหาร
การรับประทานยาที่เกี่ยวข้องกับการเผาผลาญสารอาหาร
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรม ปริมาณและลักษณะอาหารที่รับประทาน
ตรวจดูท่าทางว่ามีอาการอ่อนเพลียหรือไม่
สังเกตอาการต่างๆ มีปัญหาการรับประทานอาหาร
เช่น การกลืนอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจเลือดประเมินปัญหาเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ
ความสมดุลของสารน้ำ สารแร่ต่างๆในร่างกาย
แบบแผนการขับถ่าย
(Elimination)
รวบรวมข้อมูลประมินการขับถ่าย ลักษณะ ปริมาณ จำนวนครั้งของของเสียที่ออกจากร่างกาย
การซักประวัติ
การขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ วันละกี่ครั้ง จำนวนเท่าใด
ปัจจัยส่งเสริม ที่เป็นอุปสรรคต่อการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ เช่น ความสะดวกหรือลำบากในการเข้าห้องน้ำ, มีริดสีดวงที่ทวารหนัก
ประวัติการใช้ยาต่างๆ ลักษณะการขับถ่าย
การตรวจร่างกาย
สังเกตสี ปริมาณ ตรวจร่างกายทั่วไป ตรวจดูลักษณะท้อง
ตรวจทวารหนักเพื่อดูแผล ปริมาณลักษณะของอุจจาระว่าผิดปกติหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจปัสสาวะเพื่อประเมินความผิดปกติ
ตรวจอุจจาระเพื่อประเมินว่ามีเม็ดเลือดแดง พยาธิ หรือมีเลือดปนหรือไม่
ส่องกล้องเข้าทวารหนักเพื่อตรวจหาความผิดปกติของลำไส้ใหญ่
แบบแผนกิจกรรมและการออกกาลังกาย
(Activity and Exercise)
เป็นการรวบรวมข้อมูล ประเมินระดับความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆ
ข้อจำกัดในการดำเนินชีวิต การทำกิจกรรมออกกำลังกาย
ผลกระทบที่เกิดจากการเจ็บป่วย
การซักประวัติ
ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
การออกกำลังกาย ชนิด ระยะเวลา สัปดาห์ละกี่ครั้ง
ประวัติการเป็นโรค อุปสรรคต่อการทำกิจวัตร
เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับกระดูก ข้อ กล้ามเนื้อ
การตรวจร่างกาย
สังเกตความสามารถในการทำกิจกรรม
ประเมินการเคลื่อนไหวของแขนขา
ตรวจวัดสัญญาณชีพ หรือการขาดออกซิเจน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจเลือดและเอกซเรย์ปอด เพื่อประเมินความผิดปกติที่เป็นอุปสรรคต่อการทำกิจกรรม
5.แบบแผนการพักผ่อนนอนหลับ
(Sleep and Rest)
แบบแผนการนอนหลับ พักผ่อน ปัญหาเกี่ยวกับนอน
กิจกรรมที่ปฏิบัติเพื่อให้ผ่อนคลาย
การซักประวัติ
พฤติกรรมการนอน อุปนิสัยการนอน
สิ่งที่ช่วยทำให้นอนหลับง่าย เช่นฟังเพลง ธรรมะ
ปัญหาเกี่ยวกับการนอน เช่น การนอนมากหรือน้อยเกินไป
หรือหลับยาก มีการใช้ยานอนหลับ
การตรวจร่างกาย
สังเกตหน้าตาว่านอนหลับพักผ่อนเพียงพอหรือไม่
แบบแผนคุณค่าและความเชื่อ
(Value and Belief)
ความเชื่อ ความศรัทธา ความมั่นคงเข็มแข็งทางด้านจิตใจ
การซักประวัติ
ความเชื่อ ความผูกพัน ความศรัทธา
สิ่งที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ค่านิยม หรือความหวังเป้าหมายในชีวิต
การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกทางสีหน้า ท่าทาง อารมณ์
สังเกตคำพูด การแสดงออกถึงความเชื่อ
6.แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
(Cognition and Perception)
การรับรู้ความรู้สึกและการตอบสนอง
ความสามารถในการรับรู้สิ่งเร้าด้านความรู้สึก 5 ทาง
ความสามารถทางสติปัญญา
พัฒนาการทางสติปัญญา ความคิด ความจำ การตัดสินใจ
การแก้ปัญหาและการสื่อภาษาต่างๆ
การซักประวัติ
ความรู้สึกทั่วไป ปัญหาการได้กลิ่น ได้ยิน มองเห็น และการรับรส
ประวัติโรคประจำตัวที่มีผลต่อการรับรู้ พัฒนาการด้านสติปัญญา
การตรวจร่างกาย
ประเมินระดับความรู้สึกตัว ตรวจดูความผิดปกติ
สังเกตรูปร่าง ลักษณะ หน้าตา ท่าทาง
ประเมินระดับสติปัญญา
7.แบบแผนรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
(Self perception and self concept)
การตรวจร่างกาย
สังเกตความสนใจของผู้ป่วย การแต่งกาย บุคลิก
ปฏิกิริยาตอบสนอง พฤติกรรมที่แสดงออกต่อการสูญเสีย
ความวิตกกังวล ก้าวร้าว หรือแยกตัวจากสังคม
การซักประวัติ
การสูญเสียอวัยวะจากการเป็นโรค ความภาคภูมิในตนเอง
ความรู้สึกต่อตนเอง ความสามารถในด้านต่างๆ
แบบแผนความคิด ความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อตนเอง
การมองเห็นตนเอง รูปร่าง หน้าตา ความพิการความสามารถต่างๆ
แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ
(Role and Relationship)
บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ การติดต่อสื่อสารและการมีสัมพันธภาพบุคคลทั้งภายในครอบครัวและสังคม
การซักประวัติ
หน้าที่ความรับผิดชอบ การแสดงบทบาทในครอบครัว
สัมพันธภาพของผู้ป่วยกับบุคคลอื่นๆ และสิ่งที่เป็นอุปสรรค
ต่อการสร้างสัมพันธภาพที่ดี
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ท่าทาง ลักษณะการโต้ตอบ
แบบแผนเพศและการเจริญพันธุ์
(Sexuality and Reproduction)
พัฒนาการตามเพศมีอิทธิพลมาจากพัฒนาการด้านร่างกาย
และสังคม สิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดู การเจริญพันธุ์
การซักประวัติ
การเจริญพันธุ์ การมีเพศสัมพันธ์ การป้องกันโรคติดต่อ
พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคทางเพศสัมพันธ์
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมทางเพศ ท่าทางที่แสดงออก ภาษา
คำพูด การแต่งกาย
10.แบบแผนการปรับตัวและการเผชิญความเครียด
(Coping and Stress tolerance
การรับรู้ลักษณะอารมณ์พื้นฐาน ความเครียดปฏิกิริยาของร่างกาย และวิธีการแก้ไขการจัดการความเครียด
การซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป ซักถามสิ่งที่ทำให้เกิดความเครียด อาการต่างๆ วิธีการจัดการความเครียด
การตรวจร่างกาย
ตรวจสอบพฤติกรรมที่บ่งชี้ถึงความเครียด เช่น
สีหน้าหมกมุ่น ร้องไห้ ซึม