Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Threatened preterm labor with overt DM with previous C/S …
Threatened preterm labor with overt DM with previous C/S
(การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดคุกคามร่วมกับภาวะเบาหวานที่เป็นมาตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์)
ข้อมูล
Thai female 32 ปี (admit 7มี.ค.65)
G3P2A0
Ga 33week 3 day by date
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์67 kg ส่วนสูง 150cm
BMI ก่อนการตั้งครรภ์ 29.7
น้ำหนักปัจจุบัน 75.5 kg.(GA33+3wks)
TWG 8.5 (ขึ้นตามเกณฑ์)
LMP 16ก.ค.64
EDC by date 22เม.ย.65
At ANC
Total ANC 5 ครั้ง ฝากครรภ์ครั้งแรกตอนGa 15+3wks
ANC risk : Overt DM
Notify : overt DMรักษาที่รพ.ตำรวจ , Previous C/S
การคัดกรอง
DM
ผู้ป่วยมีประวัติเป็นDM type 1(ตั้งแต่2560) รักษาด้วยการฉีดยาอินซูลิน NPH ,Novorapid Urine sugar 2+ (15+3wks)
ให้ประวัติว่ามารดาผู้ป่วยเป็นDMและบิดาเป็นHT
Neutral Protamine Hagedorn
อินซูลินชนิดนี้ออกฤทธิ์ภายใน 2-4 ชั่วโมง
Lab at ANC (1/11/64)
Hct : 32%
MCV : 58.9
Blood group: O positive
VDRL : non reactive
HbsAG : neg
HIV : neg
DCIP : neg
Glucose 2+
Ketone : neg
แรกรับ BT : 36.8
BP :131/89
PR : 110
RR : 18
Os sat 99%
Pain 2 ที่หน้าท้อง
อาการสำคัญ : มาตรวจตามนัดที่ANC และมีอาการเจ็บครรภ์29 hr.PTA
ประวัติการตั้งครรภ์ : G1 (2551) : full term , C/S due to CPD ,female,3700kg, no complication at รพ.อุดร
G2 (2565) ,full term,breech presentation C/S,male,3100kg,no complication at รพ.ตำรวจ
การตรวจครรภ์
HF : 3/4 >O, FHS : Positive
ท้องแข็งทุก1นาที ไม่มีมูกเลือดไม่มีน้ำเดิน
NSTมีUC~2-3นาที (mild UC)
TAS : SVF,FHS positive,Vx,placenta posterior upper,EFW : 1335 gm
แพทย์Dx. Threatened preterm labor
จึงส่ง admit LR for inhibit
การตรวจช่องคลอด
Pv : Os close
Uterine contraction
Interval 3’ Duration 20”Intensity+
แพทย์Plan
-Admit LR
-Observe progression of laboor
-Inhibition of labor
GDM(Gestational diabetes mellitus)
ทฤษฎี
ผู้ป่วย
Thai female 32 ปี G3P2002 GA 33+3 wks
ให้ประวัติว่าเป็นเบาหวานตั้งแต่ปี 2560
รักษาที่โรงพยาบาลตำรวจ ซึ่งแพทย์วินิจฉัยเป็น DM type 1 และทำการรักษาด้วย Insulin
ชนิดของGDM
สาเหตุและปัจจัยเสริม
1.BMIก่อนการตั้งครรภ์ 29.7
2.ประวัติเป็นDM
3.Glucose (UA)2+
อาการและอาการแสดง
ปีสสาวะวันละ 7-8 ครั้ง เหลืองใส ไม่ขุ่น ไม่มีตะกอน ไม่มีอาการอ่อนเพลีย
การวินิจฉัย
ผู้ป่วยเป็นOvert DM(เบาหวานก่อนการตั้งครรภ์)
รักษาด้วยยาฉีดinsulin
(NPH 20-0-0-20unit sc ac (07:00 , 20:0) (NOVORAPID 14-14-14 unit sc ac)
ตรวจพบGlucose 2+
การรักษา
Intrapartum peroid
At LR (07/03/65)
ครั้งที่ 1 Ga 33+3wks
13:00 : DTX 160mg%
18:00 : DTX 218 mg%ให้ Novorapid 3 unit
20:00 : NPH 20unit SC hs(ก่อนนอน)
22.00 น. DTX 274 mg%ให้ Ri 14 unit SC stat
(08/03/65)
02:00 : DTX 283 mg% ให้ Novorapid 16 unit SC stat
07:00 : NPH 20 unit
10:00 : DTX 289 mg%ให้ Novorapid 14 unit SC stat
11:00 : DTX 347 mg%แพทย์ off NPH , Novorapid เดิม
ให้ Ri 100 unit + NSS 100 ml IV rate 3 ml/hr
12:30 : เพิ่ม rate RI 4 ml/hr
13:00 : DTX 240 mg%ลด rate RI 3 ml/hr
14:00 : DTX 192 mg%
15:00 : DTX 183 mg%
16:00 : DTX 173 mg%
17:00 : DTX 186 mg%เพิ่ม rate RI 4 ml/hr
18:00 : DTX 196 mg%เพิ่ม rate RI 5 ml/hr
19:00 : DTX 159 mg%
20:00 : DTX 154 mg%
22:00 : DTX 129 mg% ลด rate RI 3 ml/hr
23:00 : DTX 117 mg% ลด rate RI 1.5 ml/hr
24:00 : DTX 126 mg% ลด rate RI 1 ml/hr
หมายเหตุ
DTX ทุก1hr.
(09/03/65)
01:00 : DTX 134 mg% ลด rate RI 0.5 ml/hr
02:00 : DTX 143 mg%
11:00 : DTX105 mg% RI (1:10) IV drip rate10 ml/hr
12:00 : DTX 106 mg% RI (1:10) IV drip rate10 ml/hr
13:00 : DTX110 mg% RI (1:10) IV drip rate10 ml/hr
14:00 : DTX119 mg% RI (1:10) IV drip rate10 ml/hr
15:00 : DTX155 mg% RI (1:10) IV drip rate10 ml/hr
19:00 : DTX 146 mg%off RI (1:10) at.17:00
20:00 : DTX 139 mg%
หมายเหตุ
DTX ทุก4hr. (keep70-150mg%)
(10/03/65)
07:00 : DTX104 mg%
11:00 : DTX64 mg%
15:00 : DTX106 mg%
ชนิดของGDM
1.Gestational Diabetes Mellitus หรือ GDM :เป็นเบาหวานในขณะกำลังตั้งครรภ์
ภาวะมีความผิดปกติของคาร์โบไฮเดรตเมตาบอลิซึมในขณะตั้งครรภ์ครั้งแรก
Pre-Gestational Diabetes Mellitus : เป็นโรคเบาหวานเกิดขึ้นก่อนการตั้งครรภ์ มี2ชนิดคือโรคเบาหวานชนิดพึงอินซูลิน (IDDM)แบบไม่พึ่งอินซูลิน (NIDDM)
สาเหตุและปัจจัยเสริม
1.อ้วนมาก/ดัชนีมวลกาย>30
2.มีประวัติเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ในการตั้งครรภ์ก่อน
3.เคยคลอดทารกน้ำหนัก>4,000กรัม
4.ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะขณะตั้งครรภ์
5.U/D DM
5.อายุ>35ปี
อาการและอาการแสดง
โดยทั่วไปโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์จะไม่มีอาการใด ๆ แต่สามารถสังกตอาการได้คล้ายกับภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
-รู้สึกหิวกระหายน้ำมากกว่าปกติ
-ปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ
รู้สึกเหนื่อย อ่อนเพลีย
-ชาปลายมือปลายเท้า
การวินิจฉัย
1.เป็นโรคเบาหวานก่อนการตั้งครรภ์
2.การตรวจขั้นตอนเดียวOGTT
3.การตรวจแบบสองขั้นตอน คัดกรอง BS50gmก่อนถ้าผลปกติ ตามด้วยการOGTTต่อ
การรักษา
Intrapartum peroid
1.วางแผนให้คลอดเมื่ออายุ38week
2.ให้สิ้นสุดการคลอดทันทีในกรณี
Maternal complications : maternal renal failure, severe preeclampsia
Fetal complications : fetal compromise.
3.ผู้ใช้insulinขณะตั้งครรภ์ควรปรึกษาแพทย์เพื่อร่วมดูแล
4.DTX แรกรับ
DTX < 100 : 5%dextrose in water หรือ 5% dextrose in NSS ทาง IV ไม่ต้องฉีด insulin
DTX > 100 : เริ่ม regular short acting insulin (insulinออกฤทธิ์สั้น 30-60นาทีหลังฉีด อยู่นาน 5-8hr.)หยดเข้าหลอดเลือดดำให้ผ่าน infusion pomp 0.5-2unit/hr. ผสมRI (regular insulin)10unitใน0.9%NSS100mlปรับrate insulin ทุก1hr. เพื่อให้ได้ระดับน้ำตาลในเลือด 80-120ml/hr.
5.เจาะDTXทุก1hr.+ปรับระดับinsulin
หมายถึง สตรีตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของการ เผาผลาญของคาร์โบไฮเดรต เนื่องจากมีความไม่สมดุล ระหว่างความต้องการและการสร้างจากภาวะดื้อต่อ อินซูลินหรือการใช้อินซูลินของร่างกาย ทำให้ระดับ น้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ อาจเป็นโรคเรื้อรังก่อน ตั้งครรภ์หรือเป็นขณะตั้งครรภ์ เนื่องจากมีการทำลาย อินซูลินโดยรกและฮอร์โมนจากรก ซึ่งจะมีฤทธิ์ต้าน อินซูลินทำให้เกิดการเผาผลาญในร่างกายผิดปกติ
Preterm labor
ทฤษฎี
ผู้ป่วย
ประเภท
ผู้ป่วยเพศหญิง GA 34+3 wks by date G3P2-0-0-2
เป็น Late preterm birth
ผ่าตัดแบบ Low transverse cesarean section
อาการและอาการแสดง
มาตรวจตามนัด มีอาการเจ็บครรภ์
แพทย์จึงให้ ON NST
:Reactive มี UC ทุก 2-3 นาที PV: os closed
การวินิจฉัย
มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างสม่ำเสมอ
I= 3', D= 20'' และ Int = +
PV: os closed
สาเหตุและปัจจัย
มารดาอายุ 32 ปี G.P2002 ให้ประวัติว่าเป็น
เบาหวานตั้งแต่ปี 2560 แพทย์วินิจฉัย DM type 1
พฤติกรรมและกิจวัตรประจำวัน ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์
นั่งรถยนต์ส่วนตัวกลับต่างจังหวัดสัปดาห์ละครั้ง ใช้ เวลาครั้งละประมาณ 3 ชั่วโมง และนั่งรถจักรยนต์ไป
ตลาด 3 - 4 ครั้ง/สัปดาห์ ใช้เวลาครั้งละประมาณ 30 นาที
บริเวณที่อยู่อาศัยอยู่ใกล้โรงงานอุตสาหกรรม
การักษา
(Inhibit) At LR
ให้ยากลุ่ม beta adrenergic receptor agonists
0.9%NSS 500 ml + bricanyl 2.5 mg IV drip
(07/03/65 off 08/03/65)
ให้ยากลุ่ม calcium channel blockers
Nifedipine 10 mg 2 tab oral q 30 min x 2 dose
(9/03/65-10/03/65)
C (Corticosteroids)
Start 07/03/65
Dexamethasone 6 mg IM q 12 hr x 4dose
ครบ dose 09/03/65
A (Antibiotic)
-
ประเภท
Late Preterm Birth : เจ็บครรภ์คลอดหลัง 34 wks
Moderate Preterm Birth : เจ็บครรภ์คลอดตั้งแต่ 32-34 wks
Very Preterm Birth : เจ็บครรภ์คลอดตั้งแต่ 28-32wks
Extremely Preterm Birth : เจ็บครรภ์คลอดก่อน 28 wks
สาเหตุและปัจจัย
ปัจจัยด้านมารดา
-โรคของมารดา เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไตโรคติดเชื้อต่าง ๆ
-อายุของมารดา มารดาที่มีอายุน้อยกว่า 18 ปีหรือมารดาที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปี
-การสูบบุหรี่
-พฤติกรรมและกิจวัตรประจำวัน เช่น การยกของหนัก การนั่งรถเป็นเวลานาน
-อยู่ในสภาวะและสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยอยู่ใกล้โรงงานสารเคมีต่าง ๆ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์
-ภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ เช่น โรคความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์ รกลอกตัวก่อนกำหนด
-ภาวะที่ปากมดลูกปิดไม่สนิท
-ภาวะครรภ์แฝดน้ำ
ปัจจัยด้านทารก
-ทารกมีความผิดปกติของโครโมโซม
-ทารกมีความผิดปกติของรูปร่าง
-ทารกมีการติดเชื้อในครรภ์
อาการและอาการแสดง
เจ็บครรภ์ถี่ขึ้น มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างสม่ำเสมอจนทำให้ ปากมดลูกมีการบางตัวและเปิดขยายตัว ปวดหลังหรือปวดเอว ปวดหน่วงท้อง ปวดหน่วงลงช่องคลอด หรืออาจมี อาการท้องเสียร่วมด้วย มีสิ่งคัดหลั่งออกทางช่องคลอดเช่นมีมูกเลือด น้ำเดิน เป็นต้น
การวินิจฉัย
มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างน้อย 4 ครั้ง ใน 20
min หรือ 8 ครั้งใน 60 min
2.ปากมดลูกเปิดอย่างน้อย 1 CM.
3.ปากมดลูกบางตัวอย่างน้อย 80 %
การักษา
I
(Inhibit)
ให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (tocolysis)
ยากลุ่ม calcium channel blockers
Nifedipine (Adalat)
S/E: BP ต่ำ หัวใจเต้นเร็ว ร้อนวูบวาบ ปวด
ศีรษะ มึนงง คลื่นไส้อาเจียน ปอดบวมน้ำ
ยากลุ่ม beta adrenergic receptor agonists
Terbutaline (Bricany)
S/E: BP ต่ำ Pulse เร็ว มือสั่น ใจสั่น กล้ามเนื้อ
หัวใจขาดเลือด โพแทสเซียมต่ำ น้ำท่วมปอดทารกหัวใจเต้นเร็ว น้ำตาลในเลือดต่ำหลังคลอด
Prostaglandin inhibitors : NSAIDs -
Indomethacin
S/E: คลื่นส้อาเจียน แผลในทางเดินอาหาร
การทำงานของไตลดลง
C
(Corticosteroids)
ให้เพื่อกระตุ้นการเจริญของปอดทารก
1.Single course
Dexamethasone 6 me IM q 12 hr x 4
Betamethasone 6 mg IM q 24 hr x 2
2.Single recue course
ใช้ชนิดและขนาดของยาแบบเดียวกับ Single
course ใช้ใน preterm labor ที่ได้รับยาครั้ง แรกอย่างน้อย 7 วันและมีโอกาสคลอดก่อนอายุครรภ์ 34 สัปดาห์
A (Antibiotic)
Ampicillin
Azithromycin
หมายถึง การเจ็บครรภ์คลอดที่มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมอมีผลทำให้ปากมดลูกบางลงหรือ มีการขยายตัวของปากมดลูก ตั้งแต่อายุครรภ์24week-36week
ผลกระทบ
ด้านมารดา
โอกาสแท้งบุตรเพิ่มขึ้น
PIH เพิ่มขึ้น 4 เท่า
เกิดการติดเชื้อได้ง่าย เพราะมีภูมิคุ้มกันต่ำมารดา
ครรภ์แฝดน้ำพบร่วมกับเด็กตัวโตซึ่งจะทำให้มารดามีอาการทางระบบหัวใจและการหายใจ
คลอดยากเนื่องจากเด็กตัวโตอาจทำให้มีบาดแผลจาก
การคลอดรุนแรง
อัตราการผ่าท้องคลอดเพิ่มสูงขึ้น
ด้านทารก
1.ทารกเสี่ยงมีภาวะหายใจลำบากตั้งแต่กำเนิด (RDS) เกิดจากปอดที่ยังสร้างไม่สมบูรณ์และขาดสารsurfactant หรีอสารลดแรงตึงผิวอันมีผลทำให้ปอดแฟบหายใจเข้าออกได้อย่างไม่เป็นปกติ
ภาวะตัวเหลืองหลังคลอด
ทารกคลอดก่อนกำหนดเพิ่มขึ้น 2-3 เท่า
ทารกเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานเพิ่มขึ้น (ถ่ายทอดพันธุกรรม)
เด็กอาจมีความเจริญทางด้านจิตใจช้กว่าเด็กธรรมดาในระยะยาว
Macrosomia เกิดจากการสะสมของน้ำตาลและไขมันทำให้คลอดบุตรยาก
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวานมานานและมีโรคแทรกซ้อนทางหลอดเลือดจะทำให้ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้าและตัวเล็ก(IUGR)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
2.หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงคลอดก่อนกำหนดเนื่องจากมีการหดรัดตัวของมดลูก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิน Uterine contraction ทุก 1 ชั่วโมง เพื่อประเมิน progress of laborและพิจารณาปรับลดยา
ดูแลให้ Bed rest ให้ผ่อนคลายไม่ให้เกิดความเครียด ดูแลลดสิ่งกระตุ้นจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
ตูแลให้นอนดูะแคงชัายเพื่อลดการกดทับที่บริเวณเส้นเลือด IVCให้เลือตุมาเลี้ยงมดลูกเพิ่มมากขึ้น
ดูแลให้ด้รับยาตามแผนการรักษา คือ Dexamethasone 6 mg IM q 12 hr. x 4 dose
พร้อมทั้งสังเกตผลข้างเคียงหลังได้รับยาทุกครั้ง เช่น ร้อนวูบวาบ ปวดศีรษะกล้ามเนื้ออ่อนแรง คลื่นไส้ อาเจียน ความตันโลหิตต่ำ
และ Bricanyl 5 amp + NSS500 ml IV drip 20-45 ml.
พร้อมทั้งสังเกตผลข้างเคียงหลังได้รับยา เช่น ความดันโลหิตต่ำ อัตราการเต้นของหัวใจเร็ว มีอสั่น ใจสั่น เจ็บหน้าอก น้ำตาลในเลือดสูง โพแทสเซียมต่ำ น้ำท่วมปอต
1.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะhyperglycemia เนื่องจากผลข้างเคียงจากยา Bricanyl
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพของหญิงตั้งครรภ์ทุก 1hr.
2.ฟัง FHS เพื่อประเมินสภาพของทารกในครรภ์ FHS อยู่ระหว่าง 140-150 bpm.
3.สังกตและประเมินผลข้างเคียงจากการได้รับยา Bricanyl 5 amp + NSS 500 ml lV drip 20 m/hr. เช่น ความดันโลหิตต่ำ อัตราการเต้นของหัวใจเร็วมือสั่น ใจสั่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เจ็บหน้าอก น้ำตาลในเลือดสูง โพแทสเซียมต่ำ น้ำท่วมปอด
4.เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว (DTX) ทุก 2 ชั่โมง ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อประเมินภาวะ Hyperglycemia, Hypoglycemia
5.ดูแลให้ได้รับ insulin คือ Novorapid 14-14-14 unit sc ac, NPH 20-0-20 unit sc u. และ RI 100 U + NSS 100 ml vein drip 3 ml/hr.ตามแผนการรักษาของแพทย์
6.สังกตและประเมินอาการและอาการแสดงของ Hyperglycemia เช่น ปัสสาวะบ่อย หิวน้ำบ่อย ผิวแห้ง อ่อนเพลีย สายตาพร่ามัว มองเห็นไม่ชัดให้รายงานแพทย์ทราบ
7.หากหญิงตั้งครรภ์มีภาวะ DKA (Diabetic Ketoacidosis) ให้ปรับลด rate Bricanyl ลง และ off Bricanyl หลังจากนั้นให้ NSS rate 100 ml/hr.ตามแผนการรักษาของเเพทย์และเปลี่ยนให้ยายับยั้งการคลอดกลุ่มอื่น
8.ประเมินอาการและอาการแสดงของ Hypoglycemia เช่น หัวใจเต้นเร็ว เวียนศีรษะ ปวดศีรษะเหงื่อออกมาก หิวบ่อย เป็นต้น ให้ 5% DN/2 1000 ml IVdrip 80 m//hr. และ DTX ทุก 2 hr. ตามแผนการรักษาของแพทย์
9.หากมารดา Potassium ต่ำ ให้ Elixir KCL 50 ml vein x 2 dose q 4 hr. ตามแผนการุรักษาของแพทย์
10.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ Electrolyte ที่สำคัญคือ Potassium และ FBS เพื่อประเมินภาวะผิดปกติ
11.ถ้ามารดามีอาการใจสั่น มือสั่น ต้องหยุดยาทันที และต้องเตรียมออกชิเจนไว้ให้พร้อมเมื่อมีอาการผิดปกติจะได้ให้ทันที
12.ดูแลปรับลดยาให้เหมาะสมตามแผนการรักษาของแพทย์
ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดออกชิเจน
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิน FHS ทุก 1 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะ Fetal
distress หากพบว่า น้อยกว่า 110 bpm ให้ประเมิน FHS ทุก 15 นาทีและรีบรายงานแพทย์
ดูแลให้หญิงตั้งครรภ์นอนตะแคงช้ายเพื่อลดการกดทับบริเวณเส้นเลือด ให้เลือดมาเลี้ยงมดลูกเพิ่มมากขึ้น
หาก FHS dropดูแลให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับออกชิเจนอย่างเพียงพอตามแ ผ่นการรักษาของแพทย์ คือ on o2 cannula 5 LPM
ดูแลให้หญิงตั้งครรภ์ on EFMประเมินสภาพทารกในครรภ์เพื่อดูความผิดปกติ
สอนและสาธิตการหายใจให้เต็มปอดและเป่าออกทางปากช้าๆเพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับออกชิเจนเต็มที่
การป้องกันภาวะแทรกซ้อนจาก Overt DM
ระยะตั้งครรภ์
การควบคุมอาหาร จำกัดการกินอาหารที่มีไขมันสูง เช่น
ขนมอบ เบเกอรี่ต่าง ๆ เลือกกินอาหารที่มิโปร่ตีนสูงและไขมันต่ำ เช่น เนื้อปลาไข่ขาว เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน นมพร่องมันเนย
การรักษาด้วยอินซูลินจะใช้ในการรักษาในหญิงที่เป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ใน
เกณฑ์ปกติ เพื่อช่วยลดความเสี่ยงต่ออาการแทรกช้อน
การออกกำลังกายช่วยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของหญิงตั้งครรภ์ที่เป็น โรคเบาหวานโดยเพิ่มความไวต่ออินซูลินและเพิ่มฤทธิ์ของอินซูลินจึงช่วยลดภาวะดื้ออินซูลินช่วยกระตุ้นหลอดเลือดและหัวใจให้ทำงานมีประสิทธิ์ภาพมากขึ้นไม่ควรออกกำลังกายหักโหมจนเกินไป
ระยะคลอด
1.ผู้ที่ใช้อินชูลินขณะตั้งครรภ์ควรปรึกษาอายุรแพทย์เพื่อร่วมดูแลทุกราย
DTXq 4 hr ระหว่าง NPO keep 80-200 mg%
DTX 201-250 RI 4 U SC ac
DTX 251- 300 RI 6 U SC ac
<80, >300 notify ให้แพทย์ทราบ
คำแนะนำ
การคุมกำเนิด
มารดาได้ทำLow transverse cesarean section with Tubal Resection : ผูกท่อนำไข่ทั้งสองข้าง
1.ระวังอย่าให้แผลโดนน้ำ
2.ดูแลให้นมบุตรตามปกติ
3.ไม่ยกของหนัก
4.สังเกตุอาหารผิดปกติเช่น แผล ติดเชื้อ บวม มีหนอง มี
เลือดออก มีไข้ ปวดท้อง
การออกกำลังกาย
ยังไม่สามารถออกกำลังกายหลังผ่าตัดได้ต้องรออย่าง
น้อย6สัปดาห์ เพราะอาจไปเพิ่ม แรงกดดันในช่องท้อง จะ
ทำให้กล้ามเนื้อท้องเหนื่อยล้ำ และแยกจากกันได้
6สัปดาห์
ออกกำลังกาย~5-10นาทีออกกำลังกายแบบคาดิโอเช่น เดินเร็ว ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำก่อนแล้วค่อยเพิ่มเวลาหากไม่มี
อาการผิดปกติ
ไม่ควรยกของหนัก6week แรก
อาหาร
เน้นโปรตีน เพราะโปรตีนมีส่วนช่วยในการสร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรง และซ่อมแชมเนื้อเยื่อที่เสียหายจากการผ่าตัดคลอด เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่วเมล็ดแห้ง เต้าหู้
เช่นเมนู ไก่ผัดขิง
ประเภทอาหาร
กระตุ้นน้ำนม : ผัดหัวปลี่ น้ำขิง กระชาย ต่ำลึง แกงเห็ดรวม ลดท้องผูก กระตุ้นน้ำนม : แกงเลียงผักรวม ไก่ผัดขิง ฟักทองผัดไข่
ดื่มน้ำสะอาด6-8แก้ว/วัน งดชากาแฟ แอลกอฮอล์ เพราะ
สามารถผ่านไปสู่ลูกได้
DM
1.แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการในสัดส่วนที่พอดีกับความต้องการของร่างกายอย่างหลายครบทุก5หมู่ ใน3มื้อ
กลุ่มข้าวแป้ง : เช่น รับประทานธัญพืชไม่ขัดสี ได้แก่ ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือเป็นต้น
งด+หลีกเหลี่ยงอาหารหวาน
น้ำดื่ม : สะอาดหลักเหลี่ยงน้ำดื่มรสชาติหวาน รวมถึงแอลกอฮอล์
2.กระตุ้นให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค เช่น หลีกเหลี่ยงการกินขนม กินจุบจิบ หรือนอนหลังรับประทานอาหารเสร็จ
อาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์
น้ำคาวปลากลิ่นเหม็นมากขึ้น
เต้านมอักเสบ กดเจ็บ มีไข้ มีเลือดสดออกจากทางช่องคลอด ปัสสาวะแสบขัด
การดูแลตนเอง
การดูแลเต้านม
1.สวมใส่เสื้อในที่พอดีกับขนาดของเต้านมที่เปลี่ยนแปลง ไป ไม่ใส่แบบคับเพราะอาจไปขัดความการหลั่งของน้ำนม และไม่ใส่แบบหลวมเพราะอาจให้เต้านมหย่อน
2.ห้ามแกะเกาบริเวณเต้านม ให้ใช้น้ำสะอาด/ต้มสุก เช็ด ทำความสะอาดบริเวณหัวนม
3.หากเต้านมคัดตึง ให้บริหารนวดเต้านมบีบน้ำนมออก และประคบร้อนเพื่อกระตุ้นการไหลเวียน
** หากเต้านมคัดตึงแล้วไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยตนเอง : ไม่นวด บีบกระตุ้นให้ใส่เสื้อในคับๆประคบเย็น
ถ้าหัวนมแตก
ทาด้วยนมแม่ งดให้บุตรดูด ไม่ถูสบู่บริเวณหัวนม สอนวิธี การเข้าเต้าให้ถูกวิธี
การรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
1.ดูแลทำความสะอาดสืบพันธุ์ล้างจากด้านหน้าไปหลัง
2.ล้างมือให้สะอาดหลังการขับถ่าย
การเฝ้าระวังการตกเลือด
ให้มารดาสังเกตุปริมาณ สี กลิ่นของน้ำ
คาวปลาเพื่อดูภาวะติดเชื้อและการตกเลือด
แนะนำการตรวจติดตามนัด
เน้นย้ำติดตามตรวจตามนัดหลังคลอด ครั้งแรก
ภายใน1เดือน หรือ4-6Weekเพื่อ ตรวจดูอวัยวะภายใน
กลับเข้าสู่สภาวะปกตหรือยัง มีวัด ความดัน ชั่งน้ำหนัก
ตรวจภายใน ตรวจมะเร็งปากมดลูก
ให้ความรู้เรื่องน้ำคาวปลา มดลูกเข้าอู่
Lochia rubra 3 วันแรกหลังคลอด สีแดง
Lochia serosa 4-10 ชมพู / น้ำตาล
Lochia alba 10-3week หลังคลอด ขาวครีม
Lochia ผิดปกติ : foul lochia กลิ่นเหม็น