Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการลุ่มน้ำแม่วาง - Coggle Diagram
การจัดการลุ่มน้ำแม่วาง
ระดับชุมชน
- ภูมิปัญญาชาวบ้าน การทำเหมืองฝาย กักเก็บน้ำ
- การซ่อมเหมืองฝายร่วมกัน ก่อเกิดความสามัคคี
- การจัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชน ได้แก่ การบวชป่า การปลูกปา การสืบชะตาป่า
ระดับเครือข่าย
- เครือข่ายลุ่มน้ำวาง ที่เกิดความร่วมมือกันของเครือข่ายลุ่มน้ำแม่วางทั้งลุ่ม โดยการประสานงานขององค์กรเหมืองฝาย
- ความร่วมมือจากองค์กรทั้งภาครัฐ และเอกชน
ระดับครัวเรือน
- ความเชื่อที่สืบทอดกันมา มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครองน้ำ ป่า เกิดความเคารพธรรมชาติ
- การปลูกจิตสำนึกให้เยาวชนเห็นคุณค่าทรัพยากรธรรมชาติ
ปัจจัยภายใน
ด้านเศรษฐกิจ
- ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรก่อเกิด อาชีพ สร้างรายได้
ด้านสิ่งแวดล้อม
- ภูมิปัญญารักษาน้ำ ป่า ที่สืบทอดกันมา
ด้านสังคม
- มีผู้นำที่มีความเข้มแข็ง
- ชาวบ้านมีความสามัคคี ชุมชนเข้มแข็ง
- มีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ
ปัจจัยภายนอก
ด้านสังคม
- การส่งเสริม และสร้างกระบวนการรับรู้
ด้านเศรษฐกิจ
- การสนับสนุนงบประมาณดำเนินการ
- เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป
ด้านสิ่งแวดล้อม
- การสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการ
- ก่ารยกระดับความร่วมมือของเครือข่ายลุ่มน้ำ
- ข้อคิด การนำไปใช้ในงานส่งเสริม
วิธีการปฏิบัติ
- สร้างเวทีชาวบ้านเพื่อร่วมกันแก้ปัญหา
- เชื่อมสัมพันธ์ชาวบ้าน ผูกมิตร เป็นพวกเดียวกัน
แนวคิด
- เข้าใจบริบทชุมชน และความเชื่อ ภูมิปัญญา
- ทำงานร่วมกันด้วยแนวคิดการ "แบ่งปัน"
- สร้างการมีส่วนร่วมของชาวบ้าน
- ทำงานแบบบูรณาการ
- จุดมุ่งหมายคือการพัฒนาอย่างยั่งยืน
1.ปัญหาลุ่มน้ำแม่วาง
ด้านสิ่งแวดล้อม
- ชาวบ้านตัดไม้ทำลายป่า
- การทำการเกษตรที่เข้มข้นขึ้น ต้องการน้ำอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี
- การจัดการน้ำไม่สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลง
ด้านการเมือง
- การให้สัมปทานป่า
- การส่งเสริมการปลูกพืชเชิงเดี่ยว
ด้านเศรษฐกิจ
- การส่งเสริมด้านการท่องเที่ยว
- การขยายตัวของภาคการเกษตร
- การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม
ด้านสังคม
- การขยายตัวของชุมชน
- เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป
- ความขัดแย้งจากความต้องการน้ำ