Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:<3:บทที่ 7 วิชามโนมติเเละทฤษฎี ทางการพยาบาล - Coggle Diagram
:<3:บทที่ 7 วิชามโนมติเเละทฤษฎี ทางการพยาบาล
มโนทัศน์พื้นฐานทางกาพยาบาล
:check:มโนมติของคน (Man)
1.คน
1.1 กายหรือร่างกายด้วยส่วนของโครงสร้างเเละการทำงานของร่างกายของบุคคล
1.2 จิตหรือจิตใจ จิตใจของคนประกอบด้วย 3 ส่วนย่อย
1.2.1 อารมณ์เเละความรู้สึก
1.2.2 จิตวิญญาณ (Spirit)
1.2.3 สติปัญญา หรือความคิด
1.3 สังคม
คือ ส่วนของคนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นๆ รอบตัว
คนจะเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่น ด้วย บทบาท หน้าท่ี ของตนที่มีต่อบุคคลอื่นแต่ละบุคคลจะปฏิบัติต่อบุคคลอื่นขึ้นอยู่กับตำเเหน่งที่ตนดำรงอยู่เป็นสำคัญ
สัมพันธภาพแต่ละบุคคล
บทบาทและสัมพันธภาพ
มีส่วนสัมพันธ์กัน
คนเป็นระบบเปิด
ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา
มีการรับสิ่งเเวดล้อม และมีการให้/ ตอบสนองแก่สิ่งแวดล้อม
การรับและการให้เกิดขึ้นได้ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยมีความสัมพันธ์กัน
บางครั้งการให้หรือการรับ อาจไม่ได้เกิดต่อเนื่องกันโดยทันที
บางครั้งอจากมีเฉพาะการให้โดยไม่มีการรับในลักษณะเดียวกันก็เป็นได้
คนมีความต้องการพื้นฐาน
ในแต่ล่ะบุคคลจะมีความต้องการทั้งทางร่างกาย จิตใจและสังคม
ความต้องการของคนแบ่งออกได้เป็น 5 ระดับ ทฤษฎีความต้องการของมาสโลย์
3.1 ความต้องการทางด้านร่างกายหรือสรีระ (Physical needs)
3.2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety and security)
3.3 ความต้องการความรัก ความผูกพัน(Affiliation)
3.4 ความต้องการความภาคภูมิใจและความมีศักดิ์ศรี (Self-esteem)
3.5 ความต้องการความพอใจตนเอง (Self-actualization)
4 .คนมีพัฒนาการ
การพัฒนาการเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพ หรือคุณลักษณะของบุคคล
การพัฒนาการจะเป็นอย่างต่อเนื่อง (เกิดจนถึงวัยชรา)
การพัฒนาการของคนอาจแบ่งออกได้เป็น
ด้านร่างกาย
ด้านสติปัญญา
ด้านอารมณ์สังคม
ด้านคุณธรรม
การพัฒนาการในแต่ละด้านจะมีความต่อเนื่องกัน เเละเป็นลำดับขั้นตอนจะมี (ลักษณะเฉพาะ)
การพัฒนาการด้านต่างๆ ของคน ในแต่ละะวัยจะมีความผสมผสานอาจมีผลกระทบซึ่งกันเเละกัน
คนมีความต้องการภาวะสมดุล หรือภาวะปกติ
5.2 ความต้องการปรับสู่ภาวะสมดุล โดยกลไกการปรับ สู่ภาวะสมดุล
อาจจะเป็นทั้งระบบอัตโนมัติหรือรู้ตัว
5.1 ความต้องการดำรงภาวะสมดุล (Homeostasis)
ต้องการในระดับที่ไม่รู้ตัวเป็นไปโดยอัตโนมัติ
6.คนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกัน แต่มีความเป็นปัจเจกบุคคล
คนแต่ละคนมีลักษณะพื้นฐานร่วมกันทุกคน
คนแต่ละคนก็มีลักษณะเฉพาะของตนเอง เรียกว่า ความเป็นปัจเจกบุคคล
ปัจจัยที่ทำให้เเต่ละคนเป็นปัจเจกบุคคล
ระดับการพัฒนาการทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตสังคมเเละประสบการณ์ในชีวิต
คนมีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเอง
คนทุกคนมีความสามารถที่จะช่วย เหลือตนเองในด้านต่างๆ
การช่วยตนเองในกิจวัตรประจำวัน
การแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง
ไม่ว่าสุขหรือทุกข์ล้วนเเต่เป็นภาระ
:check:มโนมติของสิ่งแวดล้อม (Environment)
คนไม่ได้อยู่อย่างโดดเดี่ยวแต่จะต้องอยู่ใน สิ่งแวดล้อมซึ่งอาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิต
สิ่งแวดล้อมสามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท
ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ
หมายถึง ส่ิงแวดล้อมภายนอกที่ไม่มีชีวิต
ความร้อน
อากาศ
ดิน
รังสี
น้ำ
เสียง
ลม
เเสง
ที่พัก สิ่งก่อสร้างต่างๆ
ส่ิงแวดล้อมเหล่านี้จะมีผลเบื้องต้นต่อร่างกายคนมัน
ส่ิงแวดล้อมทางชีวภาพ
ส่ิงมีชีวิตต่างๆ ทั้งพืช และสัตว์ ที่มีขนาดเล็กจนมองด้วยยตาเปล่าไม่เห็น
ตัวอย่างสิ่งเเวดล้อมชีวภาพได้เเก่
ต้นพืชชนิดต่างๆ
วัว
ปรสิต
ควาย
ไวรัส
สุนัข
เเบคทีเรีย
[ส่ิงแวดล้อมทางเคมี]
สารเคมีทุกกชนิด รวมทั้งอาหาร ยา
ซึ่งอาจมาจากส่ิงมีชีวิต หรือส่ิงไม่มีชีวิต
ส่ิงแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ
สิ่งที่เป็นรูปธรรมเเละนามธรรม
ส่ิงแวดล้อมทางสังคมที่เป็นรูปธรรม
บุคคลที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันมีบทบาท หน้าที่ดีต่อกัน
หน่วยของสังคมที่สำคัญที่สุด คือ ครอบครัว
บุคคลในครอบครัวต่างก็เป็นส่ิงแวดล้อมซึ่งกัน และกัน อาจก่อให้เกิดผลดีหรือผลเสียต่อกันก็ได้
สังคมที่ใหญ่กว่าครอบครัว
ตั้งเเต่ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ประเทศ
คนในชุมชนก็เป็นส่ิงแวดล้อม
ของบุคคลอื่นในชุมชนนั้นๆ
สิ่งแวดล้อมแต่ละชนิดสามารถที่จะให้ประโยชน์ และโทษแก่บุคคล
อากาศที่บริสุทธิ์มีส่วนช่วย ทำให้ร่างกายเเข็งเเรง
อากาศที่มีเเก๊สพิษอยู่ก็อาจทำให้ถึ่งเเก่ชีวิต
สิ่งแวดล้อมทางสังคมที่เป็นนามธรรม
วัฒนธรรม
ค่านิยม
ความเชื่อ
ประเพณี
กฏหมาย
ศาสนา
:check:มโนมติของสุขภาพ (Health)
• สุขภาพมีลักษณะเป็นนามธรรม
• เป็นภาวะที่เกิดขึ้นกับบุคคลตั้งแต่ แรกเกิดจนถึงวัยชรา
•ผู้ให้ความหมยของสุขภาพถึงสภาวะที่สมบูรณ์หรือการปรับตัวได้ทั้งด้าน ร่างกาย จิต สังคม
ทำให้คนสามารถที่จะปฏิบัติหน้าที่ได้ดำเนินชีวิตได้
สุขภาพของคนจะประกอบด้วย 2 ภาวะ
ภาวะสุขภาพดี (Wellness)
สุขภาพ (Health)
ไนติงเกล (Nightingale, 1860)
สภาวะที่ปราศจากโรค สามารถใช้พละกำลังของ ตนเองได้เต็มความสามารถ
องค์การอนามัยโลก (WHO, 1947)
สภาวะที่มีความสมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ และ สามารถอยู่ในสังคมได้
อย่างมีความสุขมิใช่เพียงแต่ปราศจากโรค
และความพิการเท่านั้น
สุขภาพดี หมายถึงสภาวะที่ร่างกายมีความสมบรูณ์
ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ปราศจากโรคและความพิการใดๆ
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ ในมาตราท่ี 3
เป็นองค์รวมอย่างสมดุลทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคมเเละจิตวิญญาณ
ความเจ็บป่วย (illness)
สภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ปกติทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ซึ่งอาจจะเปลี่ยนด้านใดด้านหน่ึง หรือหลายๆ ด้านรวมกัน
ทำให้บุคคลทำหน้าท่ี บกพร่องหรือทำหน้าที่ได้ น้อยลงกว่าปกติ
เป็นภาวะที่บุคคลรู้สึกว่ามีสุขภาพไม่ดี
ความเจ็บป่วยอาจไม่เกี่ยวข้องกับการเป็นโรคก็ได้
การบ่งชี้ถึง สภาวะความเจ็บป่วยและการมีสุขภาพดี นั้นบางครั้งไม่เด่นชัด ยกเว้นในรายที่เจ็บป่วยมากๆ มี อาการรุนแรง
ความเจ็บป่วยอาจมีสาเหตุเร่ิมแรกจากอวัยวะต่างๆ ความผิดปกติของจิตกใจ มีอาการ เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ
สุขภาพมีลักษณะเป็นพลวัตรและต่อเนื่อง
ภาวะสุขภาพของคนจะเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ในขณะหน่ึงคนอาจอยู่ในนภาวะที่สมบรูณ์เเข็งแรง แต่ก็อาจอยู่ในภาวะเจ็บป่วยได้ในเวลาไม่กี่ชั่วโมงต่อมา
บางคนอาจป่วยหนักตั้งแต่เเรกเกิด และเสียชีวต
คนส่วนมากมักจะมีความบกพร่องทางสุขภาพบ้างไม่มากก็น้อย
แต่ถ้าหาก บุคคลน้ันพอใจในสภาพการณ์ที่เป็นอยู่และสามารถดำรงชีวต อยู่ได้อย่างมี ความสุข ก็ถือได้ว่ามีสุขภาพดี
แนวคิดภาวะสุขภาพการเจ็บป่วยและการพยาบาล
ภาวะสุขภาพจึงเป็นความต้องการสูงสุดของบุคคล สุขภาพดีจะช่วยให้กระบวนกราเจริญเติบโตพัฒนากมาทางด้านร่างกายจิตใจเเละสังคมเป็น ไปได้ด้วยดี
:check:มโนมติของการพยาบาล (Nursing)
การพยาบาลเป็นการช่วยเหลือคน
ในทุกวัยตั้งเเต่แรกเกิดจนถึงวัยสูงอายุ
ในทุกภาวะสุขภาพตั้งเเต่สุขภาพดี จนถึงป่วยหนักวิกฤต
เพื่อให้คนสามารถดำรงภาวะสุขภาพไว้/ช่วยให้ คนกลับสู่ภาวะสุขภาพดีเมื่อเจ็บป่วย
การช่วยเหลือของพยาบาลอาจเป็นการช่วยเหลือเป็นรายบุคคล
คิดการรักษาทางการพยาบาล คือกิจกรรมท่ี พยาบาลปฏิบัติในขอบเขตหน้าที่ของตน ในการช่วยเหลือด้านพฤติกรมของบุคคลที่เปลี่ยนไป จากเดิม อันเนื่องมาจากผลกระทบจากปัญหา สุขภาพที่เกิดขึ้น หรือจากพฤติกรรมเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพ
การพยาบาลที่จะช่วยเหลือให้คนมีภาวะสุขภาพดี หรือปรับสู่ภาวะ สุขภาพดี
2.1 การส่งเสริมสุขภาพ
การช่วยเหลือที่ช่วยให้คนมีสุขภาพดีกว่าที่เป็นอยู่ เช่น คำแนะนำเพื่อให้คนรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับตนเองและให้คนนออกกำลังกายให้ถูกวิธี
ส่วนใหญ่เป็นการช่วยในการสร้างพฤติกรรรมสุขภาพหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2.2 การป้องกันโรค
การช่วยเหลือให้คนไม่เจ็บป่วยด้วยโรคหรือความเจ็บป่วยท่ี ป้องกันได้
เพื่อให้คนดำรงความมีสุขภาพดีไว้ได้
การป้องกันโรคแบ่งออกเป็น 3ระดับ
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
2.1 การป้องกันระดับท่ี 1 (primary prevention)
การกระทำไปที่จำเป็นการป้องกันโรคบางโรคเป็น (การเฉพาะ)
เพื่อป้องกันความไม่สุขสบาย ป้องกันการ เสียเงิน ทองจากค่าใช้จ่ายในการรักษา อย่างน้อยก็เป็นการยืดเวลาการ เร่ิมต้นของโรคออกไป
บุคคลที่อยู่ในกลุ่มสุขภาพดี สุขภาพปกติ ป้องกันในระดับที่ 1
คนกลุ่มนี้อาจมีพฤติกรรมเสี่ยงอย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่าง เป็นสาเหตุให้ป่วยในวันใดวันหน่ึงข้างหน้า จำเป็นต้องพิจารณา พฤติกรรมการป้องกันโรคของตนเองเลิกปฏิบัติเรื่องที่เสี่ยง
2.2 การป้องกันระดับท่ี 2 (secondary prevention)
ส่งเสริมการตรวจพบผู้ป่วยตั้งแต่ โรคยังไม่ปรากฏอาการ เพื่อให้สามารถให้การรักษาได้ทันท่วงที เช่น ให้ความรู้เเก่ประมาชนในการตรวจเต้านมตนเองสนันสนุนให้ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก (Pap smear)
เร่ิมเมื่อบุคคลป่วยเข้ามารับการรักษาที่ รพ.
พยาบาลให้การดูเเลและเฝ้าระวังการเกิด ภาวะแทรกซ้อน ช่วยให้ ผู้ป่วยหาย/ทุเลาจากโรคภายในเวลาอันควร ช่วยลดระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาล
สอนให้รู้จักการป้องกันไม่ให้เกิดซ้ำอีก
2.3 การดูเเลรักษา
การที่บุคคลคนหน่ึงต้องเปลี่ยนสถานภาพจากที่สุขภาพดีหรือสุขภาพ ปกติสู่การเป็นผู้ป่วยตัดสินใจอยู่ภายใต้การดูเเลของแพทย์
ผู้ป่วยจะต้องปรับเปลี่ยนวิธีการ
ดำเนินชีวตใหม่ต้องพึ่งพาผู้อื่น มากขึ้นผู้ป่วยแต่ละคนจะมีความกลัวกังวลแตกต่างกันออกไป ดูเเละตามเพศเเละวัย ตามโรค อาการ
การปฏิบัติขอองพยาบาลในด้านการดูแลรักษา จะเป็นไปตามแผนการรักษาของแพทย์เป็นกิจกรรม (โดยมุ่งเน้นการบำบัด)
เป็นส่ิงสำคัญต่อการหายของโรค
พยาบาลจะต้องรู้จักใช้ศิลปะในการติดต่อสื่อสาร การแสดงออกทางสีหน้า ท่าทาง สัมผัสที่อ่อนโยน และความเเข้าใจในความรู้สึก
การอธิบายให้ข้อมูลที่จำเป็นแก่ผู้ป่วยรวมทั้งญาติ ให้เข้าใจกระจ่างจะช่วยให้ได้รับความ ร่วมมือที่ดีเเละเป็นผลดีต่อการรักษา
2.4 การฟื้นฟูสภาพร่างกาย
พยาบาลจะต้องเข้าถึงจิต ใจและรู้สภาพ ปัญหาของผู้ป่วยแต่ละคนอย่างถ่องแท้
เป็นผู้ให้กำลังใจให้ความหวังช่ืนชมและยก ย่องผู้ป่วย
บทบาทของพยาบาลในการฟื้นฟูสภาพแก่ผู้ป่วย จะต้องใช้กระบวนการใดๆ ช่วยเหลือให้ผู้ป่วยป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยด้วยโรคกลับมามีชีวิตในสังคมตามสภาพปกติ
รวมถึงการช่วยให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง สามารถช่วยตนเองได้
การพยาบาลโดยใช้กระบวนการ พยาบาลในการช่วยเหลือ ผู้รับบริการ
กระบวนการพยาบาลเป็น กระบ่วนการที่เป็นพลวัตรต่อเนื่องสัมพันธ์กัน
กระบวนการพยาบาลจะสิ้นสุดก็ต่อเมื่อความต้องการของ ผู้รับบริการได้รับการ ตอบสนองหรือปัญหาได้รับ การแก้ไข/ปัจจัยเสี่ยงได้รับการ จัดการให้หมดไป
การพยาบาลเป็นบริการที่จำเป็นต่อสังคม
จากบทบาทและวิธีการปฏิบัติของพยาบาลท่ีมีลักษณะเฉพาะ
ในการช่วยเหลือผู้รับบริการที่เป็น รายบุคคล ครอบครัวและชุมชน
ถ้าขาดการพยาบาลที่มีคุณภาพ อาจส่งผลให้คนไม่สามารถดำรงภาวะสุขภาพดี
กระบวนทัศน์หลักทางการพยาบาล
กลไกการปรับสมดุลคนอาจอยู่ในภาวะที่รับตัวได้
บางครั้งจากปฏิสัมพันธ์ ระหว่างคนและส่ิงแวดล้อมคนก็อาจไม่สามารถ ปรับตัวให้อยู่ ในภาวะสมดุลได้ จึงเกิด ภาวะเจ็บป่วยขึ้น
มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยเหลือคนให้สามารถดำรงภาวะสมดุลหรือภาวะ
สุขภาพดีได้ และช่วยเหลือคนที่เจ็บป่วยให้ปรับตัวกลับสู่ภาวะสมดุล
ในการช่วยเหลือคนนั้นจะช่วยโดยใช้บทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การดูเเลรักษาและการ
:check:ความสำคัญของมโนมติพื้นฐานทางการพยาบาล
การพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาล
การวิจัยทางการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การจัดการศึกษาพยาบาล
มโนทัศน์เเละทฤษฏีทางการพยาบาล
:check:ทฤษฎีทางการพยาบาล ( Nursing Theory )
หมายถึง แก่นสาระความรู้ของวิชาชีพพยาบาล ซึ่ง มุ่งอธิบายธรรมชาติของคนสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพล ต่อบุคคล ภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วยของบุคคล โดยมีเป้าหมายของการพยาบาลและกิจ กรรมการ พยาบาล
:check:กระบวนทัศน์ ( Paradigm)
หมายถึง กรอบการมองหรือกรอบเค้าโครงแนวคิด หรือแบบอดุมคติ หรือปรัชญาที่เป็นที่ยอมรับในกลุ่มวิชาชีพซึ่งจะให้ข้อตกลงเพื่อเป็น แนวทางปฏิบัติ วิจัย และสร้างความเข้าใจในศาสตร์น้ันเป็นแนว เดียวกัน
:check:METAPARADIGM
กรอบขอบเขตหรือโครงสร้างทางความคิดหรือมโนมติในภาพรวม กว้างๆของศาสตร์สาขาต่างๆ จะประกอบด้วย มโนทัศน์องศาสตร์สาขานั้นๆ
รวมทั้ง มีการกำหนดลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศนเหล่านั้นด้วย
กระบวนทัศน์ทางการพยาบาล ประกอบด้วยมโนทัศน์หลักเกี่ยวกับ
Person
Health
Nursing
Environment
โครงสร้างความสัมพันธ์
คน
สุขภาพ
สิ่งเเวดล้อม
การพยาบาล
:check:ConCeptual fraMework / Model )
กรอบเเนวคิด
กลุ่มของมโนทัศน์สัมพันธ์กันเป็นภาพรวมของปรากฏการณ์ หรือความจริง ช่วยใหเ้ห็นจุดเน้นของความคิดเปรียบเสมือนร่ม และครอบคลุมกับ ปรากฎการณ์ อย่างกว้างขวาง และมีความเป็น (นามธรรมสูง)
:check:การจำแนกทฤษฎีตามระดับความเป็นนามธรรม
1 ทฤษฎีอภิทฤษฎี (Meta – theory)
มีเป้าหมาย, การสร้างทฤษฎี, จุดเน้นที่การตั้งคำถามเชิงปรัชญา,วิธีการสร้างกระบวนการวิเคราะห์ วิพากษ์และหลักเกณฑ์ในการประเมินทฤษฎี (เป็นนามธรรมสูง)
2 ทฤษฎีระดับกว้าง(Grandtheory)
กาํหนดกรอบแนวคดิหรือแบบจไลองมโนมติที่ครอบคลุม เนื้อหาสาระที่กว้าง,นามธรรมสูง, แนวทางการปฏิบัติสร้างองค์ความรู้ในระดับรองลงได้ดี
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
ทฤษฎีการดูแลเอื้ออาทรของวัตสัน
3 ทฤษฎีระดับกลาง (Middle Rang theory)
มีขอบเขตเนื้อหาสาระแคบลงและ มี จำนวนมโนทัศน์น้อยกว่าทฤษฎีระดับกว้าง สามารถ นําไปใช้อ้างอิงและขยายต่อได้ ทดสอบได้ เช่น (ทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์)
4 ทฤษฎีระดับปฏบัติ(Practice theory)
มีความซับซ้อนน้อยที่สุด เป็นชุดข้อความเชิงทฤษฎี สามารถทดสอบได้ง่าย และนําไปใช้ใน การปฏิบัติการพยาบาลได้โดยตรงและคาดผลที่จะ จากการปฏิบัติได้
:check:ประโยชน์ของทฤษฎีต่อการปฏิบัติการพยาบาล
อธิบายเป้าหมายและเหตุผลของการปฏบัติการพยาบาลต่อผู้รับบริการ
เป็นแนวทางในการนํากระบวนการพยาบาลมาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
เป็นหลักเกณฑ์ในการวัดคุณภาพทางการพยาบาล
อธิบายคำศัพท์ทางการพยาบาลให้เข้าใจตรงกันใน ทีมสุขภาพ
แสดงถึงความเป็นเอกสิทธ์ิในวิชาชีพการพยาบาล(Autonomy)
แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วย/ผู้รับบริการกับพยาบาลและมองเห็น บทบาทของพยาบาลชัดเจนขึ้น
:check:วิวัฒนาการของทฤษฎีการพยาบาล
Florence Nightingale เป็นบุคคลแรกที่พยายามสร้างศาสตร์การพยาบาลและ เตรียมพยาบาลอย่างมีรูปแบบชัดเจน
Technical arts
Nursing properties
Nursing Sciences
:check:พัฒนาการของทฤษฎีทางการพยาบาล
ระยะก่อนปี ค.ศ. 1960
เป็นยุคที่พัฒนาต่อเนื่องจากงานเขียนเเละการทำงานของไนติงเกล
พัฒนาพื้นฐานของทฤษฏีจากเเนวคิดจิตวิทยา สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษย์ศาสตร์เเละพฤติกรรมศาสตร์
ค.ศ.1950 Environmental Theory : Nightingale
ค.ศ.1952 Interpersonal Relations in Nursing : Hildegard Peplau
ค.ศ.1955 Principles and Practice of Nursing : Virginia Henderson
ระยะปี ค.ศ. 1960-1970
ค.ศ. 1964 Lindia Hall สร้างทฤษฎีชื่อ Core Care and Cure Theory (เน้นปฏิกิริยา ระหว่างร่างกาย และโรค)
ค.ศ. 1961 Jean Orlando สร้างทฤษฎีชื่อNursing Process Theory (เน้นการปฏิบัติการ พยาบาล)
ค.ศ. 1970 Martha E. Rogers สร้างทฤษฎี Science of Unitary Human Being
ค.ศ. Faye Abdullah พัฒนากลุ่มปัญหาทางการพยาบาล 21 ปัญหา ( กายภาพ + ชีวภาพ + จิตสังคม )
ค.ศ.1968 Dickoff & James ทฤษฎีการพยาบาลต้องเป็นทฤษฎีในระดับสูงสุดคือเป็นทฤษฎีในระดับสร้างสถานการณ์(Situation–producingtheory)
ระยะปี ค.ศ. 1971-1980
ค.ศ.1971 Dorothea E. Orem สร้างทฤษฎีชื่อ Self - care Theory
ค.ศ.1974 Sister Callista Roy สร้างทฤษฎีชื่อ Roy’s Adaptation model
ค.ศ.1978 Madeleine Leininger สร้างทฤษฎีชื่อ Transcultural nursing Theory
ค.ศ.1978 Jean Watson สร้างทฤษฎี Transpersonal Caring
ระยะปี ค.ศ. 1981 – ปัจจุบัน
ระยะแรก เน้นที่การนําเอาทฤษฎีต่างๆที่ ถูกสร้างขึ้นมาแล้วมาทดลองปฏิบัติ/พิสูจน์ ข้อเท็จจริงตามข้อสมมุติฐาน
ระยะหลัง เน้นพัฒนาทฤษฎีขึ้นมาใหม่ พัฒนาระบบสารสนเทศทางการพยาบาลเผยเเพร่ความรู้
:check:การจําแนกทฤษฎีตามลักษณะการนําไปใช้
ทฤษฎีเชิงนิรนัย (Deductive nursing theories)
ทฤษฎีจากการนําศาสตร์ต่างๆมาสังเคราะห์ ขยายมโนมติเดิมให้เกิดเป็นมโนมติใหม่
ทฤษฎีการพยาบาลของรอย
ทฤษฎีการพยาบาลของนิวแมน
ทฤษฎีการพยาบาลของไลนิงเจอร
ทฤษฎีการพยาบาลของคิง
ทฤษฎีการพยาบาลของวัตสัน
ทฤษฎีเชิงอุปนัย(Inductive nursing theories)
การพัฒนาทฤษฎีที่เกิดจาก การปฏิบัติการพยาบาลมาประมวลเพื่อสรุปเป็นทฤษฎี