Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 วิวิธีการช่วยเหลือการพยาบาลมารดาที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle…
บทที่8
วิวิธีการช่วยเหลือการพยาบาลมารดาที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ
การชักนำการคอด(Induction of labor)
หมายถึหมายถึงการทำให้เกิดการเจ็บครรภ์จริงก่อนที่จะสู่กระบวนการเจ็บครรภ์จริงตามธรรมชาติ
การเร่งคลอด( augmentation of labor) มายถึง การกระตุ้นให้เจ็บ ครรภ์คลอดลังจากที่มี การเจ็บครรภ์จริงตามธรรมชาติเกิดขึ้นแล้ ทําให้การคลอดดําเนินไปได้เร็วขึ้น
ข้อบ่งชี้ในการชักนําให้เจ็บครรภ์คลอด
ข้อบ่งชี้ด้านมารดา ได้แก่ คามดันโลหิตสูงงขณะตั้งครรภ์ โรคเบาหวานหรือมีโรคแทรกซ้อน ทางอายุรกรรม ภาะน้ําคร่ำน้อย ครรภ์เกินกํานด ภาะรกลอกตัวก่อนกําหนด
ข้อบ่งชี้ด้านทารก ได้แก่ ทารกบวมน้ํา ทารกพิการที่ไม่ามารถทีชีวิตอยู่ต่อ ทารกเสียชีวิตใน ครรภ์
ข้อห้ามในการชักนำให้เจ็บครรภ์คลอด
ภาวะศรีษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องทางคลอด (cephalopelvic disproportion)
ถ้าทารกอยู่ในท่าผิดปกติเช่นถ้าขวาง
ภาวะรกเกาะต่ำ
ภาวะสายสะดือย้อย (prolapsed cord)
มีประวัติผ่ามดลูก
มีเนื้องอกในอุ้งเชิงกรานขัดขวางการคอด
การชักนําการคลอดโดยใช้หัตถการ (surgical induction of labor)
การเซาะแยกถุงน้ําคร่ำคือ การสอดนิ้วเข้าไปเซาะแยกถุงน้ําคร่ำ (chorionic membrane)
ออกจากปากมดลูก และ decidua ของมดลูก่นล่าง การเซาะแยกถุงน้ําคร่ำจะกระตุ้นให้มีการลั่ง phospholipase A2 enzyme จาก endocervix และยังพบว่าระดับของ prostoglandin E2 ในเลือดสูงขึ้น 3-4 เท่า ลังจากการทําหัตถการพร้อมๆ กับการดรัดตัวของมดลูก ซึ่งส่งผลให้เข้าสู่กระบนการเจ็บครรภ์ ได้โดยธรรมชาติ
การเจาะถุงน้ําคร่ำ (artificial ruptured of membrance : AROM) เป็นการใช้ เครื่องมือใช้เข้าไปในช่องคลอด แล้วสอดเข้าไปในปากมดลูกเจาะถุงน้ําคร่ำให้แตก ออกกลไกลที่ก่อให็เกิดการ เจ็บครรภ์เชื่อว่าเกี่ยข้องกับการลั่ง prostoglandins พบว่ามีระดับสูงขึ้นภายใน 15 นาทีลังจากการทํา หัตถการ
การช่วยคลอดดว้ยคีม(ForcepsExtraction)
หมาายถึง วีธีการช่วยคลอดทารกโดยการใช้คีม หมุน ดึงศรีษะทารกจากทางช่องคลอด
หน้าที่ของคีม
Extraction ใช้คีบและดึงศรีษะทารก ออกจากช่องทางคลอดแทนแรงเบ่งของมารดา ซึ่งเป็น จุดประสงค์หลักของการใช้คีม
Rotation เป็นการใช้คีมจับศรีษะทารกและหมุนให้อยู่ในตําแหน่งท่ีเหมาะสม แล้วจึงดึง ออกมา เช่น ในกรณี occiput อยู่ขวาหรืออยู่ด้านหลัง
Compression ใช้คีมดึงศรีษะทารก แต่ในขณะดึงจะมีแรงหน่ึงบีบศรีษะทารกด้วย บาง กรณีใช้คีมเพื่อบีบศรีษะทารก
Vectis เป็นการใช้คีมเพียงข้างเดียวในการช้อนหรือยกศรีษะทารกจากช่องคลอด เช่น ช่วย คลอดศรีษะทารกขณะผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การดูแลทารกที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยคีม
ดูแลเมือทารกคลอดปกติ ในกรณีทารกบางรายมีแผลถลอกบริเวรศรีษะหรือรอยช้ำบริเณใบหน้า เนื่องจากการใช้คีมควรอธิบายให้ผู้คลอดทราบและแนะนําว่าจะสามารถหายไปได้เองภายใน 2-3วัน
การคลอดด้วยเครื่องสูญญากาศ (vacuum extraction)
การคลอดด้วยเครื่องสูญญากาศ(vacuum extraction : V/E) หมายถึงการใช้เครื่องดูดสูญญากาศใน การเสริมจากการรัดตัวของมดลูกในขณะเจ็บครรภ์ ร่วมกับแรงเบ่งของผู้คลอดดึงศรีษะทารกออกจากช่อง คลอด โดยออกแรงดึงเฉพาะที่มดลูกหดรัดตัวเพื่อให้สามารถดําเนินการคลอดทางช่องคลอดได้อย่าง ปลอดภัย
ข้อบ่งชี้ในการคลอดด้วยเครื่องญุญากาศ
ด้านมารดา
การคลอดระยะที่ 2 ยาวนาน หรือช้ากว่าปกติหรือการดรัดตัของ มดลูกน้อยจะใช้เครื่องดูดสูญญากาศร่วมกับให้ออกซิเจนทางลอดเลือดดํา ซึ่งศรีษะทารกต้องมี engagement แล้วคือ station ตั้งแต่ระดับ 0 ลงมา
มารดาอ่อนแรงจากการคลอดที่ยาวนานหรือแรงเบ่งไม่ดี
มารดาที่โรคประจําตัวที่ไม่ควรให้เบ่งคลอด เช่น โรคหัใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคปอดและโรคหัวใจ รกลอกตัวก่อนกําหนด รกเกาะต่ำ
ด้านทารก
การหมุนของศรีษะทารกผิดปกติ เช่น occiput posterior และ occiput transverse
ทารกอยู่ในภาะ fetal distress ที่ไม่รุนแรง
การผ่าทาการผ่าคลอดทางหน้าท้อง
หมายถึงการผ่าตัดเมื่อนำเอาทารกออกจากโพรงมดลูกโดยผ่านทางรอยผ่าที่ผนังหน้าท้อง
ข้อห้ามในการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องในสูติศาสตร์ปัจจุบัน ไม่มีข้อห้าม แต่ไม่แนะนําให้ทําผ่าตัด เพราะจะ ทําให้เกิดแผลเป็นบนตัวมดลูก หรือาจเกิดภาะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดได้
ทารกตายในครรภ์ ยกเว้นมีข้อบ่งชี้ทางฝ่ายมารดา เช่น ตกเลือดก่อนคลอด
ทารกมีความพิการแต่กําเนิดอย่างมาก และไม่ามารถมีชีวิตอยู่ได้หลังคลอด (incompatible with life)
เกิดภาะเลือดไม่แข็งตัวแต่ถ้าจําเป็นต้องผ่าตัด ต้องแก้ไขภาะนี้ให้ปกติเสียก่อน