Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 แนวคิดแบบแผนสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่ 6 แนวคิดแบบแผนสุขภาพ
ความหมายของแบบแผนสุขภาพ
แบบแผน = พฤติกรรมของบุคคลที่ต่อเนื่องกัน
แบบแผนสุขภาพ = พฤติกรรมด้านสุขภาพของบุคคลที่เกิดในช่วงเวลาหนึ่งและมีผลต่อสุขภาพ
กรอบแนวคิดการวางแผนสุขภาพ
พัฒนาโดย มาร์จอรีย์ กอร์ดอน (Majory Gordon) ศาตราจารย์ทางการพยาบาลที่มหาวิทยาลัยบอสตัส (Boston College of Nursing) ประเทศสหรัฐอเมริกา
แผนสุขภาพใช้เป็นแนวคิดในการประเมินภาวะสุขภาพของบุคคลครอบครัวหรือชุมชน ทั้งในภาวะปกติหรือภาวะเจ็บปวด
ประเมินจากพฤติกรรมภายในภายนอก
มี 11 แผน
องค์ประกอบขอลแบบแผนสุขภาพแต่ละแบบแผน
พฤติกรรมภายนอก คือ พฤติกรรมที่เห็นด้วยตาเปล่าหรือใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทำงานของร่างกาย หรือทางชีวภาพในระบบต่างๆ เช่น ระบบหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด
กระบวนการคิด ความคิดของบุคคลต่อสิ่งต่างๆ
เจตคติ ซึ่งประกอบด้วยความรู้สึก ความคิดเห็น ค่านิยมของบุคคล
พฤติกรรมภายนอก คือ การกระทำที่แสดงออกให้เห็น รับรู้ได้ หรือใช้เครื่องมือตรวจสอบได้
พฤติกกรรที่เป็นคำพูด
พฤติกรรมที่ไม่ใช่คำพูด
การตรวจโดยใช้เครื่องมือทางการแพทย์ เช่น การตรวจวัดสัญญาณชีพ ภาพเอกซเรย์ เป็นต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น การตรวจเลือด การตรวจสารคัดหลั่งต่างๆ
ปัจจัยส่งเสริมพฤติกรรมและอุปสรรค
พฤติกรรมภายนอก และ พฤติกรรมภายในจะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
พฤติกรรมภายในเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมภายนอก
การรวบรวมข้อมูล
ตัวอย่างข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ผู้รับบริการชอบทานข้าวเหนียว 3 มื้อ ชอบทานอาหารรสจัดโดยเฉพาะส้มตำ
ปวดศรีษะข้างเดียว ปวดตุ๊บๆ
ตัวอย่างข้อมูลปรนัย (Objective data)
ท่าทางเหนื่อยล่า อ่อนเพลีย หาวอยู่ตลอด
สีหน้าไม่ค่อยสดใส
การประเมินทางการพยาบาลในผู้ป่วยโดยใช้กรอบแนวคิดสุขภาพของ ของกอร์ดอน (Gordon,1994)
วิธีการได้มาซึ่งข้อมูล
ข้อมูลอัตนัย (Subjective data) คือ การซักประว้ติจากผู้รับบริการหรือญาติ
ข้อมูลปรนัย (Objective data) คือ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต/การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และ การตรวจพิเศษ
1.แบบแผนการรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความคิด
ความในการดูแลสุขภาพตนเอง
พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ
รวมรวมโดยการซักประวัติและการตรวจร่างกาย
แนวทางการประเมินการรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกายประจำปี
การได้รับภูมิคุ้มกัน
การรับประทานยาเป็นประจำ
ประวัติการแพ้ยา
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
การตรวจร่างกาย
ลักษณะทั่วไปหรือความพิการ
ความสะอาดของร่างกาย
ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
ตัวอย่างคำถามแบบแผนการรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแล
ทราบไหมว่าเป็นโรคอะไร
เมื่อปวดเจ็บ/เจ็บป่วย ควรปฏิบัติอย่างไร
รับรู้ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ
ตัวอย่างข้อมูลแบบแผนการรับรู้สุขภาพและการดูแล
เมื่อเจ็บป่วยไปซื้อยามากิน/ไปอนามัย
ไม่อยากรู้ กลัวเป็นโรคที่รักษาไม่หาย
เพื่อนบ้านเคยมารักษาที่นี่แล้วหาย
แบบแผนการขับถ่าย (Elimination)
เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินการขับถ่าย ลักษณะ ปริมาณจำนวนครั้งของเสียทุกประเภทที่ออกจากร่างกายทั้งอุจระและปัสสาวะ
แนวทางการประเมินแบบแผนการขับถ่าย
การซักประวัติ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะและวิธีการแก้ไข
ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการขับถ่าย
ประวัติการใช้ยาต่างๆ
การตรวจร่างกาย
สังเกตสี และปริมาณ ลักษณะปัสสาวะที่ออกมาจากผู้ป่วย
สังเกตการมีกระเพาะปัสสาวะเต็ม (Full Bladder)
การตรวจห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจปัสสาวะ เพื่อประเมินความผิดปกติ
ตรวจเลือดดูยูเรีย ไนโตรเจน
เอกซเรย์ ดู Ultrasound ดูความผิดปกติของไต
ตัวอย่างคำถามแบบแผนการขับถ่าย
ถ่ายอุจจาระบ่อยแค่ไหน
ลักษณะของอุจจาระ
ลักษณะ สี กลิ่น
ตัวอย่างข้อมูลแบบแผนการขับถ่าย
ปกติถ่ายอุจจาระทุกเช้า ไม่เคยมีปัญหาท้องผุ
ปกติปัสสาวะ 4 ครั้งต่อวัน ไม่มีแสบขัด
แบบแผนโภชนาการและการเผาพลาญสารอาหาร
ประเมินพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
ปัจจัยต่างที่มีผลต่อการรับสารอาหาร
ประเมินการทำงานของร่างกายที่เกี่ยวกับภาวะโภชนาการ ได้แก่ การเคี้ยว การกลืน การย่อย การดููดซึม และการเผาพลาญ
แนวทางการประเมินแบบแผนโภชนาการและการเผาพลาญอาหาร
การซักประวัติ
แบบแผนเกี่ยวกับบริโภคนิสัยและแบบแผนการดำเนินชีวิต (life style)
อุปนิสัยในการรับประทาน
ชอบกินอาหารขนาดนั้งดูโทรทัศน์
ลักษณะขนมที่ชอบ
ชนิด เวลา ปริมาณ
ประวัติที่เกี่ยวกับทางเดินอาหาร
ปัญหาในการรับประทานอาหาร
การตรวจร่างกาย
การสังเกตพฤติกรรมการกินอาหาร
เยื่อบุปากและแผลในช่องปาก
ตรวจท่าทางว่ามีอาการอ่อนเพลีย
สังเกตอาการต่างๆที่มีผลต่อการรับประทานอาหาร
ค่าดัชนีมวลกาย
การตรวจททางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจเลือดเพื่อประเมินปัญหาเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ
การตรวจอัตราซาวด์ช่องท้อง
ตัวอย่างคำถามแบบแผนโภชนาการและการเผาพลาญสารอาหาร
ปกติอาหารที่รับประทานคืออะไร
น้ำที่ดื่มเป็นประจำมีอะไรบ้าง ปริมาตรเท่าไหร่
มีเบื่ออาหารไหม
ตัวอย่างข้อมูลแบบแผนโภชนาการและการเผาพลาญสารอาหาร
ชอบกินข้าวเหนียววันละ 3 มื้อ
ดื่มน้ำประมาณ 6/8 แก้ว/วัน
น้ำหนักชั่งเมื่อ 3 เดือนที่แล้ว 48 กก.
แบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
(Activity and Exercise)
เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินระดับความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆ
ข้อจำกัดหรือเงื่อนไขในการดำเนินชีวิต
ผลกระทบที่เกิดจาการเจ็บป่วยที่มีผลต่อการทำกิจกรรม
ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อไม่สามารถทำกิจกรรมที่ต้องการได้
แนวทางการประเมินแบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
การซักประวัติ
ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัติประจำวัน
แข็งแรง และสามารถปฏิบัติและทำกิจวัติต่างๆได้
ทำงานหรือทำกิจกรรมได้
ไม่สามารถทำกิจวัติประจำวันของตนเองได้ หรือช่วยตัวเองไม่ได้
การตรวจร่างกาย
สังเกตความสมารถในการทำกิจกรรมต่างๆ
ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของแขนขา
(Range of motion : ROM)
ตรวจร่างกายระบบต่างๆ
การตรวจวัดสัญญาณชีพ ประเมินอาการความดันโลหิตสูง
ตรวจอาการขาดออกซิเจน
การตรวจห้องปฏิบัติการและห้องตรวจพิเศษ
กาารตรวจเลือดและการเอกซเรย์ปอด เพื่อประเมินภาวะผอดปกติที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ หรือไม่
ตัวอย่างคำถามแบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
ในแต่ละวัน ตั้งแต่ตื่นท่านทำอะไรบ้าง
ปัญหาในการทำกิจกรรมนั้นๆ
แต่ละกิจกรรมใช้เวลานานเท่าไหน
ตัวอย่างข้อมูลแบบแผนกิจกรรมและการออกกำลังกาย
ปกติเดินออกกำลังกายรอบหมู่บ้าน 1 รอบ ใน 1 ชั่วโมง
เวลาว่างจากการทำงานชอบอ่านหนังสือ
แบบแผนการพักผ่อนนอนหลับ
(Sleep and Rest)
เป็นแบบแผนการนอนหลับ การพักผ่อน ปัญหาเกี่ยวกับการนอน ปัจจัยส่งเสริม ปัจจัยเสี่ยง และอุปสรรคต่อแบบแผนการนอน
การซักประวัติ
พฤติกรรมการนอน ประวัติเกี่ยวกับอุปนิสัยในการนอน
เป็นคนนอนดึกหรือนอนแต่หัวค่ำ
พฤติกรรมหรือสิ่งที่ช่วยนอนหลับได้ง่าย
ก่อนนอนต้องฟังเพลง
ปัญหาเกี่ยวกับการนอน
พฤติกรรมการผ่อนคลาย
การตรวจร่างกาย
สังเกตหน้าตาว่านอนหลับเพียงพอหรือไม่
ความสดชืนแจ่มใส ซึม อ่อนเพลีย
ง่วงนอน หาวนอนบ่อย
ใต้ตาเป็นรอยเขียวช้ำ
นอนหลับตอนกลางวันตื่นตอนกลางคืน
ตัวอย่างคำถามแบบแผน
นอนวันละกี่ชั่วโมง
หลับสนิท หรือหลับๆตื่นๆ
เมื่อตื่นนอนรู้สึกอย่างไร
ตัวอย่างข้อมูลแบบแผน
ปกตินอนตั้งแต่เวลา 22:00 น.
ผู้ป่วยมีท่าทางอ่อนเพลียหาวบ่อย
แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
(Cognition and Perception)
1.การรับรู้ความรู้สึกและการตอบสนอง
แบบแผนเกี่ยวกับความสามารถของบุคคลในการรับรู้สิ่งเร้าและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้านการรับรู้ความรู้สึก (sensation) ทั้ง 5
ความสามารถทางสติปัญญา
เกี่ยวกับความคิดความจำ ความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญญาหาการสื่อภาษาต่างๆ
แนวทางการประเมินแบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
การซักประวัติ
ความรู้สึกทั่วไป สุขสบายหรือไม่สุขสบาย
ปัญหาเกี่ยวกับความรู้สึกตัว
ปัญหาเกี่ยวกับการได้กลิ่น
ปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น
การตรวจร่างกาย
ประเมินความรู้สึกตัว
สังเกตลักษณะทั่วไป
ประเมินระดับสติปัญญา (IQ) โดยใช้แบบทดสอบ
ตัวอย่างข้อมูลแบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
ผู้ป่วยสามารถบอก วัน เวลา สถานที่ได้
ตอบคำถาามได้ตรงประเด็นที่ถาม
มีความจำดี และจำเรื่องราวที่ผ่านมาได้
แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
(Self perception and Self concept)
แบบแผนที่เกี่ยวความคิด ความรู้สึกที่มีต่อตนเอง การมองตนเองเกี่ยวกับรูปร่างหน้าตา ความพิการ ความสามารถ คุณค่า เอกลักษณ์
แนวทางการประเมินแบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์
การซักประวัติ
ความรู้สึกตนเองเกี่ยวกับภาพลักษณ์
ความรู้สึกต่อตนเองในด้านต่างๆ
ความรู้สึกตนเองเกี่ยวกับการเปลียนแปลงร่างกาย
ความรู้สึกต่อตนเองในการสูญเสียอวัยวะจากโรค
การตรวจร่างกาย
สังเกตความสนใจของผู้ป่วย
การแต่งกาย บุคลิก
การกล่าวถึงตนเอง
ตัวอย่างข้อมูล
ก่อนเจ็บป่วยนี้คุณรู้สึกมีความสำคํญต่อครอบครัว สามารถทำงานได้เองทุกอย่าง
ผู้ป่วยมีความสนใจขณะซักถามดี มีการซบตา พูดด้วยน้ำเสียงที่ดี
ตัวอย่างคำถาม
ท่านคิดว่าตนเองเป็นคนนิสัยอย่างไร
รู้สึกอย่างไรต่อสภาพตนเองตอนเจ็บป่วย
คนอื่นมองคุณอย่างไร
แบบแผนการปรับตัวและเผชิญความเครียด (Coping and Stress tolerance)
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับการรับรู้ลักษณะอารมณ์พื้นฐาน
การรับรู็เกี่ยวกับความเครียดปฏิกิริยาของร่างกายต่อความเครียด
แนวทางการประเมินแบบแผนการปรับตัวและเผชิญความเครียด
การซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป อายุ การศึกษา อาชีพ
ซักถามสิ่งที่ทำให้เครียด
อาการต่างๆเมื่อเกิดความเครียด
วิธีจัดการความเครียด
การตรวจร่างกาย
ตรวจพฤติกรรมที่บ่งชี้ถึงความเครียด
สีหน้าหมกมุ่น
สังเกตอาการต่างๆ
ตัวอย่างคำถาม
ในช่วง 1 ปี มีการเปลี่ยนแปลงครั้งไหนสำคัญที่สุด
มีเรื่องไม่สบายใจ หรือเครียดไหม
ตัวอย่างข้อมูล
เป็นคนอารมณ์ดี ร่าเริง พูดเก่ง
ขณะนี้เครียดเรื่องใกล้สอบ
มีสีหน้าวิตกกังวล ไม่สบายใจ
แบบแผนเพศและการเจริญพันธุ์
(Sexuality and Reproduction)
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับพัฒนาทางเพศซึ่งมีอิทธิพลมาจากพัฒนาทางร่างกายและอิทธิพลทางสังคม สิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดู
แนวทางการประเมินแบบแผนเพศและการเจริญพันธฺุ์
การซักประวัติ
การเจริญพันธ์ และการทำงานของระบบสืบพันธ์
การมีเพศสัมพันธ์ ปัญหาเพศสัมพันธ์
มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมทางเพศจากลักษณะท่าทางที่แสดงออก
เพศหญิง ตรวจเต้านม ต่อมน้ำเหลือง เพศชาย ตรวจอวัยวะเพศ ตรวจอาการและอาการแสดง
ตัวอย่างคำถาม
ประวัติการมีประจำเดือน
มีบุตรกี่คน
คุมกำเนิดหรือไม่ วิธีใด
ตัวอย่างข้อมูล
ตรวจเต้านมด้วยตนเองเดือนละ 1 ครั้ง
คุมกำเนิดโดยการกินยาคุมกำเนิด
เปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 4 ชั่วโมง
แบบแผนบทบาทและความสัมพัธภาพ
(Role and Relationship)
แบบแผนเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ การติดต่อสื่อสารและการมีสัมพัธภาพกับบุคคลทั้งภายในครอบครัวและภายนอก
แนวทางการประเมินแบบแผนบทบาทและสัมพัธภาพ
การซักประวัติ
โครงสร้างครอบครัว เช่น จำนวนสมาชิกในครอบครัวมีใครบ้าง หรืออยู่คนเดียว
หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและสมาชิกในครอบครัว
สัมพัธภาพผู้ป่วยกับครอบครัว
ตำแหน่งความรับผิดชอบต่อหน้าที่
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมต่างๆ หรือท่าทางที่แสดงออกครอบครัวและบุคคลในครอบครัวแสดงต่อผู้ป่วย
ตัวอย่างข้อมูล
มีสัมพัธภาพที่ดีในครอบครัว
คนในครอบครัวดูแลเอาใจใส่ดี
มีความสัมพัธกับเพื่อนบ้านและเพื่อนร่วมงาน
ตัวอย่างคำถาม
คุณอยู่กับใคร ครอบครัวมีใครบ้าง
มีปัญหากับครอบครัวไหม
รู้สึกโดดเดี่ยวไหม
แบบแผนคุณค่าและความเชื่อ
(Value and Belief)
เป็นแบบแผนที่เกี่ยวกับความเชื่อ ความศรัทธา ความมั่นคงเข้มแข็ง ทางด้านจิตใจ สิ่งที่คุณค่า มีความหมายต่อชีวิต สิ่งที่ยึดเหนี่ยวทางด้านจืตใจ
แนวทางการประเมินแบบแผนคุณค่าและความเชื่อ
การซักประวัติ
ความเชื่อ ความผูกพัน ความศรัทธาต่อสิ่งต่างๆ
สิ่งสำคัญในชีวิต
ค่านิยม
ความหวังหรือเป้าหมายในชีวิต
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกทางสีหน้า กริยา และท่าทาง
สังเกตคำพูดของผู้ป่วยและญาติ
สังเกตการแสดงออกต่อความเชื่อต่างๆ
ตัวอย่างข้อมูล
ความเชื่อทางด้านสุขภาพ
เชื่อว่าการทำบุญเยอะๆ ตายไปจะขึ้นสวรรค์
พระพุทธศาสนาเป็นที่พึ่งทางใจ
ตัวอย่างคำถาม
มีจุดมุ่งหมายในชีวิตอย่างไร
มีสิ่งยึดเหนี่ยวในจิตใจคืออะไร
ความเชื่อเกี่ยวกับการเจ็บป่วยครั้งนี้อย่างไร