Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบแผนสุขภาพ (Functional health patterns) - Coggle Diagram
แบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
แบบแผนการเผชิญความเครียดและความทนต่อความเครียด
(Coping –stress tolerance Pattern)
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับการรับรู้ลักษณะอารมณ์พื้นฐาน การรับรู้เกี่ยวกับความเครียดปฏิกิริยาของร่างกายเมื่อเกิดความเครียด วิธีการแก้ไขและการจัดการกับความเครียด
การซักประวัติ
ข้อมูลทั่วไป เช่น อายุการศึกษา อาชีพ รายได้ สถานภาพสมรส
สัมภาษณ์เกี่ยวกับลักษณะอุปนิสัยหรืออารมณ์พื้นฐานของผู้ป่วย
ซักถามสิ่งที่ทำให้เกิดความเครียด ไม่สบายใจ
วิตกกังวล กลัวเครียด คับข้องใจ
อาการต่างๆเมื่อเกิดความเครียด นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร เหนื่อยหอบ
วิธีการจัดการความเครียด
ซักถามความต้องการการช่วยเหลือและบุคคลที่สนับสนุนให้กำลังใจช่วยแก้ปัญหา
การตรวจร่างกาย
ตรวจสอบพฤติกรรมที่บ่งชี้ถึงความเครียด
แบบแผนคุณค่าและความเชื่อ (Value – belief Pattern)
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับความเชื่อเกี่ยวความศรัทธา
ความมั่นคงเข้มแข็งทางด้านจิตสิ่งที่มีค่ามีความหมายต่อชีวิต สิ่งยึดเหนี่ยวด้านจิตใจ
การซักประวัติ
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพ
ความผูกพัน ความศรัทธาที่มีต่อสิ่งต่างๆ
สิ่งสำคัญหรือสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ อาจเป็นบุคคล
หรือวัตถุสิ่งของ
ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม
ความหวังหรือเป้าหมายในชีวิต
การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆความเชื่อทางศาสนา
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกทางสีหน้า กิริยาท่าทาง
รวมทั้งการแสดงออกทางอารมณ์
สังเกตคำพูดของผู้ป่วยและญาติที่แสดงถึงการให้คุณค่าและการมีความเชื่อในด้านต่างๆ
สังเกตการแสดงออกที่แสดงถึงความเชื่อต่างๆ
แบบแผนเพศและการเจริญพันธุ์ (Sexuality- reproductive Pattern)
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับพัฒนาการตามเพศซึ่งมีอิทธิพลมาจากพัฒนาการด้านร่างกายและอิทธิพลของสังคมสิ่งแวดล้อม
การเลี้ยงดู ลักษณะการเจริญพันธุ์
การซักประวัติ
การมีเพศสัมพันธุ์
การเจริญพันธุ์และการทำงานของระบบสืบพันธุ์
เพศหญิงควรซักประวัติเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ การแท้ง การมีบุตร การคุมกำเนิด
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤติกรรมทางเพศจากลักษณะท่าทางที่แสดงออกเพศหญิง ตรวจเต้านม ต่อมน้ำเหลือง
แบบแผนบทบาทและสัมพันธภาพ (Role-relationship Pattern)
แบบแผนเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ
การซักประวัติ
การแสดงบทบาทในครอบครัว
ตำแหน่งความรับผิดชอบต่อหน้าที่
หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและสมาชิกคนอื่น
สัมพันธภาพของผู้ป่วยกับครอบครัว
การตรวจร่างการ
สังเกตพฤติกรรมต่างๆหรือท่าทางที่แสดงออกต่อครอบครัว
แบบแผนการรับรู้ตนเองและอัตมโนทัศน์(Self perception–Self concept Pattern)
เป็นแบบแผนที่เกี่ยวกับความคิดความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อตนเอง
การซักประวัติ
ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับการสูญเสียอวัยวะจากการเป็นโรค
ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับความส่มารถในด้านต่างๆ
ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับภาพลักษณ์โดยทั่วไป รู้สึกว่าอ้วน ผอม สูงหรือเตี้ยเกินไป
ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงร่างกายที่มีอุปกรณ์เพิ่มขึ้น
ความรู้สึกต่อตนเองเกี่ยวกับความภาคภูมิใจในตนเอง ความพอใจในตนเอง
การตรวจร่างกาย
สังเกตความสนใจของผู้ป่วย
การแต่งการบุคลิกภาพ
การกล่าวถึงตนเอง
การสังเกตปฏิกิริยาตอบสนองหรือพฤติกรรมที่แสดงออกต่อการเปลี่ยนแปลงหรือสูญเสีย
แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้ (Cognitive-perceptual Pattern)
ความสามารถทางสติปัญญา
การรับรู้ความรู้สึกและการตอบสนอง
การซักประวัติ
ความรู้สึกทั่วไป สุขสบายหรือไม่สุขสบาย
ปัญหาเกี่ยวกับการได้กลิ่น
ปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น
ปัญหาเกี่ยวกับความรู้สึกตัว เช่น มีอาการสับสน ซึม ไม่รู้สึกตัว
ปัญหาเกี่ยวกับการได้ยิน
ปัญหาเกี่ยวกับการรับรส
ปัญหาเกี่ยวกับการรับความรู้สึกทางผิวหนัง
ประวัติความเจ็บป่วยหรือโรคประจำตัวที่มีผลต่อการรับรู้ความรู้สึกดังกล่าว
พัฒนาการด้านสติปัญญาโดยการซักถามเกี่ยวกับความสามารถในการเขียน
การตรวจร่างกาย
ประเมิณระดับความรู้สึกตัว เช่น การลืมตา การสื่อภาษา การเคลื่อนไหวของร่างกาย
สังเกตลักษณะทั่วไป เช่น รูปร่าง หน้าตา
ท่าทาง การแต่งกาย
ประเมินระดับสติปัญญา (IQ)โดยใช้แบบทดสอบ
แบบแผนการนอนหลับพักผ่อน (Sleep-rest Pattern)
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับการหลับนอน การพักผ่อน การหลับนอน
การซักประวัติ
พฤติกรรมการนอน ประวัติเกี่ยวกับอุปนิสัยการนอน
พฤติกรรมหรือสิ่งที่ช่วยทำให้นอนหลับ
ปัญหาเกี่ยวกับการนอน
พฤติกรรมการผ่อนคลาย ชนิดและความถี่ของกิจกรรมที่ทำให้ผ่อนคลาย
การการใช้ยานอนหลับหรือไม่ ใช้ตั้งแต่เมื่อไหร่
การตรวจร่างกาย
สังเกตหน้าตาว่านอนหลับพักผ่อนเพียงพอหรือไม่
แบบแผนด้านการมีกิจกรรมและการออกกำลังกาย
(Activity-Exercise Patterns)
เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินระดับความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆ
ผลกระทบที่เกิดจากการเจ็บป่วยต่อการประกอบกิจกรรม
ข้อกำจัดหรือเงื่อนไขในการดำเนินชีวิต
การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับนันทนาการ
ปัจจัยเสริมที่ทำให้มีความสามารถในการปฏิบัติวัติ
ประวัติการเป็นโรคที่เป็นอุปสรรคต่อชีวิประจำวัน
ความเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับระบบหายใจ
การเป็นโรคที่เกี่ยวข้อกับกระดูก ข้อ กล้ามเนื้อ
ประวัติการใช้ยา
ประวัติการเป็นดรคหัวใจและหลอดเลือด
การตรวจร่างกาย
การวัดสัญญาณชีพ ประเมินอาการของความดัน
ตรวจอาการขาดออกซิเจน
ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของแขนขา
สังเกตทุกกิจกรรมของผุ้ป่วย
สังเกตความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ
แบบแผนการขับถ่ายของเสีย(Elimination Patterns)
เป็นการรวมรวมข้อมูลเพื่อประเมินกระบวนการขับถ่าย ลักษณะ ปริมาณ จำนวนครั้งของเสียทุกประเภท
การซักประวัติ
ประวัติการใช้ยาต่างๆ
ซักประวัติเกี่ยวกับแบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
ปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะและการแก้ไข
ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อแบบแผนการขับถ่ายอุจจาระ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ
การตรวจร่างกาย
สังเกตการมีกระเพาะปัสสาวะเต็ม (fullbladder)
ตรวจดูลักษณะท้อง ตรวจการเคลื่อนไหวของลำไส้ (bowel sound)
สังเกตสี ปริมาณ ลักษณะปัสสาวะที่ขับออกมา
ตรวจร่างกายทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับปัญหาของระบบทางเดินปัสสาวะ
แบบแผนด้านโภชนาการและการเผาผลาญอาหาร
(Nutritional-Metabolism Patterns)
ประเมินพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
ประมานการทำงานของร่างกายที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการ
ปัจจัยต่างๆที่มีอิทธิพลต่อการได้รับสารอาหาร
การซักประวัติ
การรับประทานยาที่เกี่ยวข้องกับการเผาพลาญสารอาหาร
ปัญหาในการรับประทานอาหาร
ประวัติการเพิ่มหรือลดลงของน้ำหนักตัว
มีความรู้เกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ
ประวัติการเป็นโรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร
การตรวจร่างกาย
เยื่อบุปากและแผลในช่องปาก
ตรวจดูทางท่าว่ามีอาการอ่อนเพลีย
สังเกตพฤติกรรมการรับประทานอาหาร
สังเกตอาการต่างๆ
ประเมินภาวะโภชนาการว่าอ้วน
การซักประวัติ(น้ำและอิเล็กโทรไลต์)
ชนิด และปริมาณน้ำที่ดื่มในหนึ่งวัน
โรคหรือภาวะที่เสี่ยงต่อการภาวะขาดน้ำ น้ำเกิน
ตรวจดูจำนวนสีของปัสสาวะ
ตรวจริมฝีปาก เยื่อบุปาก และลิ้นว่าแตกแห้งหรือไม่
ตรวจดูอาการบวม (Edema)
1 แบบแผนการรับรู้สุขภาพและการดูแลสุขภาพ
(Health Perception-Health Management Patterns)
ความรู้ในการดูแลสุขภาพตังเอง
รวบรวมโดยการซักประวัติและการตรวจร่างกาย
เป็นการรวบรวมเพื่อประเมินความคิด
การซักประวัติ
ประวัติการเป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร
ปัญหาในการรับประทานอาหาร
มีความรู้เกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ
ประวัติการเพิ่มหรือลดลงของน้ำหนักปกติ
ประวัติความถี่ในการเกิดอาการเจ็บป่วยบ่อยเพียงใด
การตรวจร่างกาย
ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
สังเกตการปฏิบัติตนขณะเจ็บป่วยของผู้ป่วย
ลักษณะทั่วไปและความพิการ
ความสะอาดของร่างกาย เสื้อผ้า