Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การล้างไต - Coggle Diagram
การล้างไต
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนของเสีย เกลือแร่ ระหว่างเลือดกับ
น้ำยาฟอกเลือด
ใช้ตัวกรองช่วยทำให้เลือดสะอาด
ทำให้ระดับของเสียในเลือดลดลง
ทำให้ระดับของเกลือแร่และดุลของสารน้ำในร่างกายเป็นปกติ
ภาวะแทรกซ้อนระหว่างฟอกเลือด
อาการเกร็ง เป็นตะคริว
อาการหนาวสะท้าน
อาการเจ็บแน่นหน้าอก
Hypotension
ผลกระทบหลังจากการล้างไต
อาจมีภาวะแทรกซ้อนในระยะยาว
อาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้
กรณีใช้เส้นเลือดเทียมอาจมีโอกาสติดเชื้อง่ายกว่าเส้นเลือดจริง
การล้างไตเป็นการทำหน้าที่แทนไต
ไม่สามารถที่จะทดแทนหน้าที่ของไตปกติได้ทั้งหมด
การล้างไตสามารถทดแทนการทำงานของไตได้ 2 ประการ
การขับถ่ายของเสีย
การรักษาสมดุลของกรดด่าง เกลือแร่ และน้ำ
สาเหตุที่ทำให้ล้างไต
เมื่อโรคไตเรื้อรังเข้าสู่ระยะที่ 5 ของโรคไต
ค่า GFR น้อยกว่า 15 mL./min/1.73 m2
-ต้องฟอกไตภายใน 6 เดือนถึง 1 ปี
ฟอกไตฉุกเฉินเมื่อมีอาการผิดปกติ
ปัสสาวะออกน้อย
อ่อนเพลีย
ซึมลง
ภาวะเลือดเป็นกรด
เกลือแร่ในกระแสเลือดผิดปกติ
ตัวบวมทั้งตัว
ประเภทของเส้นฟอกไต
การผ่าตัดเส้นฟอกไตมี 2 ประเภท
2) เส้นเลือดเทียม
(AVG: Arteriovenous Graft)
ใช้ในกรณีที่เส้นเลือดจริงของผู้ป่วยมีขนาดเล็ก
ผู้ป่วยที่ไม่มีเส้นเลือดดำที่เหมาะสมในการทำเส้นฟอกไต
ข้อจำกัดของเส้นเลือดเทียมอายุ
อายุการใช้งานสั้น
ภาวะแทรกซ้อนสูง
ราคาจะสูงกว่าเส้นเลือดจริง
1) เส้นเลือดจริง
(AVF: Arteriovenous Fistula)
ใช้เส้นเลือดจริงของผู้ป่วย
เส้นเลือดดำเชื่อมต่อกับเส้นเลือดแดงของผู้ป่วย
ข้อดี ของการใช้เส้นเลือดจริง
ใช้ได้นานประมาณ 4 – 5ปี
อัตราการติดเชื้อต่ำ
การตีบตันของเส้นเลือดต่ำ