Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน ในระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
บทที่2การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน
ในระยะตั้งครรภ์
การแพ้ท้องอย่างรุนแรง (Hyperemesis gravidarum)
อาการคลื่นไส้ อาเจียนเล็กน้อย เบื่ออาหาร อ่อนเพลียเวียนศีรษะในช่วงเช้า (Morning sickness) เรียกว่า
อาการแพ้ท้อง
อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง (Hyperemesis gravidarum)
จะมีอาการคลื่นไส้อาเจียน รุนแรงเกิดตลอดเวลาและยาวนานจนถึงอายุครรภ์ 14-16 สัปดาห์
สาเหตุ
ความไม่สมดุลของระดับของฮอร์โมน HCG และ Estrogen ที่สูงขึ้น ในเดือนแรกๆ ของการตั้งครรภ์ หรือ HCG มีปริมาณมาก เกินไป ส่งผลให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนมาก
ผลของฮอร์โมนProgesterrone ส่งผลให้กระเพาะอาหารเคลื่อนไหวช้าลง อาหารคั่งค้างนาน
น้ำตาลในเลือดต่ำจากการได้รับอาหารไม่เพียงพอ
ทางด้านจิตใจของสตรีตั้งครรภ์
ปัจจัยส่งเสริม
อายุน้อย ครรภ์แรก
น้ำหนักตัวมาก
การตั้งครรภ์แฝด
ครรภ์ไข่ปลาอุก
ผลต่อมารดา
-ภาวะ Dehydration อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น ชีพจรเร็ว ความดันโลหิตต่ำ
-ภาวะ Electrolyte imbalance มีกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง ชาเส้นประสาทส่วนปลาย
ตับถูกทำลาย ตัวเหลือง SGOT & Liver function test สูง
ไต ปัสสาวะออกน้อย ขุ่น พบ BUN คลอไรด์ กรดยูริคสูง
มีภาวะ Ketoacidosis
ผลต่อทารก
ทารกมีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์
แท้งและการคลอดก่อนกำหนด
ทารกอาจมีความพิการ
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักตัวลด
ภาวะขาดน้ำ
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders in pregnancy)
าวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ จำแนกได้เป็น 4 กลุ่ม
1 . Preeclampsia และ eclampsia (PIH)
1 .1 Preeclampsia หมายถึง ความดันโลหิตสูง ร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ ที่เกิดขึ้นใหม่หลัง 20 สัปดาห์ ของการตั้งครรภ์ และกลับมาปกติในช่วงหลังคลอด มักมีอาการบวมร่วมด้วย
1 ) Mild Preeclampsia : BP 140 / 90 - < 160 / 110 มม . ปรอท
2 ) Severe Preeclampsia : BP 160 / 110 มม . ปรอทขึ้นไป
1 . 2 Eclampsia หมายถึง preeclampsia ที่มี อาการชัก ร่วมด้วย
2 . Chronic Hypertension (CHT) ถือเอาที่ระดับ systolic 140 มม . ปรอท หรือความดัน diastolic 90 มม . ปรอท ซึ่งเกิดมาก่อนการตั้งครรภ์ และยังคงสูงอยู่นานกว่า 12 สัปดาห์ หลังคลอด
3 . Pregnancy - aggravated hypertension (PAH) หรือ Chronic Hypertension with Superimposed PIH
วินิจฉัยเมื่อมีการเกิดขึ้นใหม่ของโปรตีนในปัสสาวะ ( หลัง 20 สัปดาห์ของการตั้งครรภ์ ) ในรายที่มี ความดันโลหิตสูงเรื้อรังมาก่อน หรือระดับความรุนแรงของความดันโลหิตขึ้นชัดเจนในครึ่งหลังของ การตั้งครรภ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่มีโปรตีนในปัสสาวะมากขึ้นอย่างฉับพลัน แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
3 .1 Superimposed Preeclampsia ( ไม่มีอาการชักร่วมด้วย )
3 .2 Superimposed Eclampsia ( มีอาการชักร่วมด้วย )
4 . Gestational hypertension :ความดันโลหิตสูง ( มักจะไม่รุนแรง ) โดยไม่มีโปรตีนในปัสสาวะ ที่เกิดขึ้นใหม่หลัง 20 สัปดาห์ของการตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยง
ไม่เคยคลอดบุตร
มารดาตั้งครรภ์ อายุมาก
ประวัติในครอบครัว เคยเป็นมาก่อน
มีประวัติความดันโลหิตสูงเรื้อรัง ,ไตเรื้อรัง ,เบาหวา น
มีประวัติครรภ์แ ฝด , ทารกบวมน ้า จาก Hb Bart ’ s
ระดับความรุนแรง ของ PIH
1 . ชนิดรุนแรงน้อย
-( Mild PIH)BP.≥140/90-<160/110 มม.ปรอท
โปรตีนในปัสสาวะ > 1 ถึง ≤ 5 กรัมต่อลิตร หรือ 1 - 2 บวก
-ไม่มีภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
2 . ชนิดรุนแรงมาก (Severe PIH)
-BP. ≥ 160 / 110 มม . ปรอท
-โปรตีนในปัสสาวะ ≥ 5 กรัม / ลิตร หรือ 3- 4 บวก
-มีภาวะแทรกซ้อน
Eclampsia
PIH ที่มีความรุนแรงจนเกิดอาการชักขึ้น
ครรภ์แฝดน้ำ ( POLYHYDRAMNIOS)
หมายถึง การตั้งครรภ์ที่มีปริมาตรน้ำคร่ำมากกว่า 2,000 มล.
หรือการตรวจดัชนีในน้ำคร้ำ (Amniotic Fluid Index : AFI) เกิน 24 - 25 เซนติเมตร
สาเหตุ
1 . จากทารก ได้แก่ ปัญหาการกลืนน้ำคร่ำ
2 . จากมารดา ได้แก่ มารดาเป็นเบาหวาน โดยเฉพาะในรายที่ควบคุมไม่ดี
การวินิจฉัย
1 . กํารซักประวัติ
2 . การตรวจร่างกาย การตรวจหน้าท้องและตรวจครรภ์
3 .1 ระยะตั้งครรภ์ 3 .2 ระยะคลอด 3 .3 ระยะหลังคลอด
4 . การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การพยาบาล
1 . นอนศีรษะสูงและ นอนตะแคงซ้าย เพื่อลดแรงดันของกะบังลม
2 . ใส่เสื้อผ้าที่หลวม เพื่อลดอาการแน่นอึดอัด
3 . รับประทํานอาหารทีละน้อย แต่บ่อยครั้งและลดเค็ม
4 . เตรียมเจาะน้ำคร่ำทํางหน้าท้องตาม
5 . ชั่งน้ำหนักทุกสัปดาห์ และวัดรอบท้อง เพื่อประเมินระดับความรุนแรงของ การตั้งครรภ์ที่มีน้ำคร่ำมาก
6 . เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย เพื่อลดความวิตกกังวล
7 . ให้กำลังใจ เพื่อให้เกิดความมั่นใจต่อการรักษา
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios)
หมายถึง การตั้งครรภ์ที่มีปริมาตรน้ำคร่ำน้อยกว่า 300 มล.หรือการตรวจดัชนีในน้ำคร่ำ มีค่า AFI ≤ 5 เซนติเมตร
สาเหตุ
1 . ทารกพิการโดยกำเนิด
2 . การอุดตันทางเดินปัสสาวะของทารก
3 . ภาวะไตฝ่อทั้งสองข้าง
4 . ทารกมีความผิดปกติของโครโมโซม
5 . รกเสื่อมสภาพ ( uteroplacental insufficiency)
6 . การรั่วของถุงน้ำคร่ำเป็นเวลานาน
7 . Twin - twin transfusion syndrome ( TT TS) มีเลือดวิ่งถ่ายเทระหว่างเด็กในครรภ์ด้วยกัน
การวินิจฉัย
1 . การซักประวัติ
ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีตและปัจจุบั น ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
2 . การตรวจร่างกาย การตรวจหน้าท้องและตรวจครรภ์ พบว่า
ระดับยอดมดลูกและทารกในครรภ์ เล็กกว่าอายุครรภ์
ทารกในครรภ์มีการเคลื่อนไหวน้อย
คลำได้ส่วนของทารกชัดเจน
3 . การประเมินภาวะแทรกซ้อน
3 .1 ทารกมีความผิดปกติของรูปร่าง
3 .2 ภาวะปอดมีการเจริญเติบโตน้อย ( pumonaly hypoplasia)
3 .3 อัตราการตายปริก าเนิดสูง
4 . การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง
การตรวจวัดระดับน้ำคร่ำ ค่าปกติ 5 - 24 เซนติเม ตร มีค่า AFI (Amniotic Fluid Index) ≤ 5 เซนติเมตร
การทดสอบความเป็นกรดด่าง ( pH) ของน้ำในช่องคลอด ถ้า pH ≥ 6.5 แสดงว่ามีน้ำคร่ำรั่วออกมา