Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้
ความดันในกระโหลกศีรษะสูง
เนื้องอกในสมอง
เนื้องอกที่เป็นเนื้อธรรมดา (Benign Brain Tumors)
เป็นเนื้องอกไม่อันตราย (ระดับ 1-2) มีการเจริญเติบโตช้า ไม่ใช่เซลล์มะเร็ง สามารถรักษาให้หายได้ และมีโอกาสน้อยที่ผู้ป่วยจะกลับมาเป็นอีกหลังการรักษา
เนื้อเยื่อที่เป็นเนื้อร้าย (Malignant Brain Tumors)
เป็นเนื้องอกอันตราย (ระดับ 3-4) มีการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์มะเร็ง อาจเกิดขึ้นบริเวณสมอง หรือเซลล์มะเร็งเกิดขึ้นที่อวัยวะอื่นแล้วลามเข้าสู่สมอง เนื้องอกที่เป็นเซลล์มะเร็งจะมีการเจริญเติบโตเรื่อย ๆ อย่างไม่สามารถควบคุมได้ และมีโอกาสที่จะกลับมาเป็นได้อีกแม้เคยผ่านการรักษาไปแล้ว โดยทั่วไป เนื้องอกที่เป็นเซลล์มะเร็งจะพบได้บ่อยกว่าเนื้องอกที่เป็นเนื้อธรรมดา
สาเหตุ
อายุ แม้เนื้องอกในสมองสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกช่วงวัย แต่พบในผู้ใหญ่ที่โตแล้วมากกว่าในเด็ก และในเด็กจะพบเนื้องอกเพียงบางชนิดเท่านั้น
รังสีอันตราย การได้รับรังสีเข้าสู่ร่างกายจะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดเนื้องอกในสมอง เช่น รังสีจากการฉายแสงตรวจหรือรักษามะเร็ง รังสีจากระเบิดปรมาณู
ประวัติบุคคลในครอบครัวที่เคยมีเนื้องอกในสมอง พันธุกรรมที่ผิดปกติอาจถูกส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่นได้
ภาวะแทรกซ้อนของเนื้องอกในสมอง
ภาวะตกเลือด มีเลือดออกบริเวณเนื้องอกในสมอง
เกิดการอุดกั้นของน้ำไขสันหลัง จนอาจเกิดภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ (Hydrocephalus)
อาการชัก
IICP
สมองเคลื่อนไปยังช่องว่างฐานกะโหลก เนื่องจากความดันในสมองเพิ่มขึ้นสูงเฉียบพลัน อาจทำให้เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
เส้นเลือดในสมองแตก
อายุ
ความดันโลหิตสูง (Hypertension) จะทำให้เกิดความเสื่อมของหลอดเลือด ผนังหลอดเลือดจะหนาและแข็ง Atherosclerosis)
โรคเบาหวาน มีผลทำให้หลอดเลือดแดงแข็งตัว
โรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น มีความผิดปกติของการเต้นของหัวใจ (atrial fibrillation)
ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มสุราการรับประทานยาคุมกำเนิด ความอ้วน
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะ
อาเจียนพุ่ง
สัญญาณชีพเปลี่ยน
Neuro signs change
ระดับความรู้สึกตัวเลวลง
รูม่านตาขยาย แขนขาอ่อน
แรง
สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะความดันใน
กระโหลกศีรษะสูง
หลอดเลือดดำและแดงจะถูกกด
การไหลเวียนเลือดในสมองน้อยลง
เซลล์สมองขาดเลือดและเซลล์สมองตาย
บวมรอบ ๆ Necrosis tissue
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง กดก้านสมองและ
ศูนย์ควบคุมการหายใจ
Co2 สะสมในเลือดมากขึ้น เกิดหลอดเลือดขยาย
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด
คาร์บอนไดออกไซด์สูงมักเกิดได้ขณะหลับ,ได้รับยานอนหลับ หรือมีโรคปอด วิตกกังวลหรือปวดรุนแรง
ออกซิเจนในเลือดลดลง hypoxemia) เกิดจากได้รับ O2 ในปริมาณน้อย ทางระบายอากาศไม่เพียงพอขณะดูดเสมหะ มีการอุดกั้นทางเดินหายใจโดยตรง
กลไกการช่วยเหลือด้านการหายใจ เช่น การดูดเสมหะ การอุดกั้นทางเดินหายใจจากสายยางดูด
ท่านอน ท่าศีรษะต่ำ ทำให้เลือดไหลกลับสู่หัวใจไม่สะดวก ปริมาตรของเลือดในสมองเพิ่มขึ้น
การเกร็งกล้ามเนื้อ อาการสั่น การจาม การไอ จะเพิ่มความดันโลหิตและทำให้ความดัน ในสมองเพิ่มตามมา
ภาวะเครียดจากอารมณ์หรือความเจ็บปวด เป็นการกระตุ้นการทำงานของประสาทซิมพาเธติด ทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น
การเผาผลาญสูงขึ้น มีไข้สูง มีอาการชัก การทำกิจกรรมต่าง ๆ ต่อเนื่องกัน ถ่ายอุจจาระ การดูดเสมหะ
น้ำไขสันหลังอุดตัน
มี lesion ที่ปิดกั้นทางเดินของ CSF pathway(CSF pathways obstruction)อาจมีลักษณะเป็นก้อนซึ่งเกิดจาก mass หรือ blood clot ก็ได้
การรักษา
External CSF diversion
1.1 Lumbar puncture
1.2 Spinal drain
1.3 Ventriculos
. Internal CSF diversion
2.1 VP shunt ต่อจาก ventricle ลงสู่ intra peritoneal space
2.2 VA shunt ต่อจาก ventricle เข้าสู่ facial vein เหนือ atrium
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนเข้าผ่าตัด
สวมชุดห้องผ่าตัด ถอดฟันปลอม และบอกเกี่ยวกับยาที่รับประทานกับโรคประจำตัว
ดูแลให้ผู้ป่วยพูดระบายเกี่ยวกับเรื่อง หรือให้ผู้ป่วยได้รับฟังเรื่องการผ่าตัดกับผู้ที่เคยผ่าตัดมาแล้ว
สวนปัสสาวะก่อนเข้าห้องผ่าตัด
หลังผ่าตัด
ดูแลวัด Vital sing ทุก 30 นาที 4 ครั้ง 1 ชม. 2 ครั้ง
เฝ้าระวังภาวะช้อค
ดูแลให้สารน้ำตามแผนการรักษา
การติดเชื้อของระบบประสาท
-เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Bacterial meningitis
น้ำไขสันหลังขุ่น
ความดันในน้ำไขสันหลังสูงมากกว่า 180 มม.น้ำ
เม็ดเลือดขาวมากกว่า 1,000 เซลล์/ลบ.มม. ระยะแรกเป็น polymophonenclear cell
โปรตีนสูงมากกว่า 50 เซลล์/ลบ.มม
น้ำตาลต่ำ น้อยกว่า 40 มก.% หรือน้อยกว่าร้อยละ 40 ของน้ำตาลในเลือด
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค
น้ำไขสันหลังสีใสหรือสีเหลืองฟาง เพราะมีโปรตีนสูงมาก
ความดันสูง
lymphocyte มักไม่เกิน10-100 เซลล์/ลบ.มม
โปรตีนสูงมาก อาจสูงได้ถึง 1-2 กรัม/100 มล.
น้ำตาลต่ำมาก
Viral meningitis
น้ำไขสันหลังใสหรือขุ่นเล็กน้อย
ความดันปกติหรือสูงเล็กน้อย
ลิมโฟซัยด์ 10-500 เซลล์/ลบ.มม.
โปรตีนปกติหรือสูงเล็กน้อย 50-100 มก./ดล.
น้ำตาลปกติ
Crytococcal meningitis
น้ำไขสันหลังใส
ความดันสูง
ลิมโฟซัยด์ 10-1,000 เซลล์/ลบ.มม.
โปรตีนเพิ่มมากกว่า 60 มก./ดล.
น้ำตาลต่ำ น้อยกว่า 40 มก./ดล. ย้อม india inkพบเชื้อ Crytococcus
พยาธิหอยโข่ง( Angiostrongylous cantonensis )
น้ำไขสันหลังบางรายสีเหมือนน้ำซาวขาว
มักมีความดันสูง
โปรตีนสูง
น้ำตาลต่ำ
มีอีโอซิโนฟิลมาก
พบตัวพยาธิในน้ำไขสันหลังได้
-สมองอักเสบ
สมองอักเสบจากเชื้อไวรัสเจแปนนีส บี
(Japanese virus B encephalitis)
น้ำไขสันหลังใส
ความดันปกติ หรือสูง
lymphocyte 10-500 เซลล์/ลบ.มม
โพลีโมฟอร์นิวเคลียสเซลล์สูงระหว่าง50-100 มก./100 มล.
โปรตีนปกติหรือเพิ่มเล็กน้อย น้ำตาลปกติ
สมองอักเสบจากเชื้อไวรัสพิษสุนัขบ้า
บาดทะยัก(Tetanus)
เมื่อพบเห็นคนกำลังชักต้องช่วยเหลืออย่างไร
ไม่งัด: ไม่งัดปากเพื่อจะใส่วัตถุใดลงไป เพราะอาจจะทำให้ฟันหลุดหรือเศษวัสดุทางเดินหายใจเป็นเหตุให้เสียชีวิตได้
ไม่ง้าง:ไม่พยายามง้างแขนขาที่กำลังเกร็งหรือกระตุกเพราะจะทำให้ผู้ป่วยบาดเจ็บเพิ่มมากขึ้นได้
ไม่ถ่าง:ไม่พยายามถ่างแขนขาหรืออ้าปากผู้ป่วยที่กำลังชัก
ไม่กด: ไม่กดท้องหรือกดหน้าอกเพื่อหยุดชัก เพราะจะทำให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายจากแรงกด
Brain Abscess
สาเหตุ
หูชั้นกลางอักเสบ พบบ่อยที่สุด (middle ear และ mastoid infection)
โพรงอากาศในจมูกหรือ mastoid อักเสบ
ฟันผุ
การติดเชื้อที่ปอดและหัวใจ
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยติดเชื้อระบบประสาท
การเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนในสมอง (cerebral tissue perfusion) เนื่องจากมีการขัดขวางการไหลเวียนในสมองจากภาวะสมองบวม มีน้ำในโพรงสมองโต หรือภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ปวดหัว ปวดคอ ปวดหลัง เนื่องจากการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง การอักเสบติดเชื้อของสมอง
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาจได้รับอาหารและน้ำไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เนื่องจากอาการคลื่นไส้ อาเจียน
ท้องเสีย รับประทานอาหาร/ ดื่มน้ำน้อย ถูกจำกัดน้ำ หรือจากระดับความรู้สึกตัวลดลง
ภาวะไข้สูง เนื่องจากการอักเสบติดเชื้อของสมอง เยื่อหุ้มสมอง หรือมีการกดต่อไฮโปทาลามัส
เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุหรือได้รับอันตราย เนื่องจากการกระสับกระส่าย การชัก ระดับ
ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงไป
ภาวะความวิตกกังวล เนื่องจากผลของโรคที่มีต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม และการคาดการณ์ในอนาคตเกี่ยวกับชีวิตและบทบาทของตนเอง