Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 แบบแผนสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่ 6 แบบแผนสุขภาพ
- แบบแผนเพศและการเจริญพันธุ์
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับพัฒนาการตามเพศซึ่งมีอิทธิพลมาจากพัฒนาการด้านร่างกาย และอิทธิพลของสังคมสิ่งแวดล้อมการเลี้ยงดูลักษณะการเจริญพันธุ์พฤติกรรม ทางเพศและเพศสัมพันธ์
การซักประวัติ
- การเจริญพันธ์และการทำงานของระบบสืบพันธุ์ การมีเพศสัมพันธ์ ปัญหาเพศสัมพันธ์ความเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับการมีเพศสัมพันธ์ และการป้องกันโรคติดต่อกันได้ทางเพศสัมพันธุ์
- การมีพฤตกิรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์การมีพฤติกรรม ทางเพศที่ไม่เหมาะสมเช่นรักร่วมเพศ
การตรวจร่างกาย
- สังเกตพฤติกรรมทางเพศจากลักษณะท่าทางที่แสดงออกปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น การใช้ภาษา
และคำพูดรวมทั้งการแต่งกายว่าเหมาะสมกับเพศหรือไม่
ตัวอย่างคำถาม
- ประวัติการมีประจำเดือนเริ่มมีเมื่อมีอายุกี่ปี แต่ละครั้งมีกี่วัน มีอาการร่วมขณะมี ประจำเดือนหรือไม่
ตัวอย่างข้อมูล
- มีประจำเดือนครั้งแรกอายุ 13 ปี ครั้งละ 3 วัน มาปกติ ไม่มีอาการปวดท้อง
- ตรวจเต้านมด้วยตนเอง เดือนละ 1 ครั้ง
-
เป็นแบบแผนเกี่ยวกับความเชื่อ ความศรัทธา ความมั่นคงเข้มแข็ง ทางด้านจิตใจ สิ่งที่มีคุณค่า มีความหมายต่อชีวิต สิ่งยึดเหนี่ยว ทางด้านจิตใจ เป้าหมายในการดาเนินชีวิต ความเชื่อทางด้าน สุขภาพและการปฏิบัติตนตามความเชื่อปัจจัยส่งเสริมและปัจจัย ที่เป็นอุปสรรคต่อความมั่นคงเข้มแข็งทางด้านจิตใจ รวมทั้งการ เปลี่ยนแปลงของแบบแผนอันเนื่องมาจากความเจ็บป่วย
การซักประวัติ
- ความเช่ือความผูกพัน ความศรัทธาที่มีต่อสิ่งต่างๆเช่นความดีงามความถูกต้องศาสนา พระเจ้าส่ิงศักดิ์สิทธิ หรือสิ่งเหนือธรรมชาติ สิ่งสำคัญในชีวิตหรือสิ่งยึดเหนทางจิตใจอาจเป็นบุคคล วัตถุ ส่ิงของศาสนา คุณงามความดี ค่านิยมขนบธรรมเนยีมประเพณีและวัฒนธรรม
- ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพ เช่นความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคความเชื่อเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลความขัดแย้งระหว่างความเชื่อเกี่ยวกับโรคของผู้ป่วยกับการรักษาพยาบาลที่ ผู้ป่วยได้รับ
การตรวจร่างกาย
- สังเกตพฤตกิรรมท่ีแสดงออกทางสีหน้ากริยาท่าทางรวมท้ังการแสดงออกทางอารมณ์เช่น
ซึมเศร้า แยกตัว ว้าเหว่ โกรธ หงุดหงิด
- สังเกตการแสดงออกที่
แสดงถึงความเชื่อต่างๆ เช่น การมีพระพทุธรูป สร้อยพระ หรือมีวัตถุมงคลบูชา การใช้เครื่องรางของขลัง การสวดมนต์ การทำสมาธิ ภาวนา การทำละหมาด การอ่านหนงัสือ
-
-
- แบบแผนการรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินความคิด ความเข้าใจของบุคคลต่อภาวะสุขภาพ โดยทั่วไปของตนเองและของผู้ที่ตนรับผิดชอบ ว่าถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ และมีความ คาดหวังต่อภาวะสุขภาพหรือการรักษาอย่างไร
-
-
-
การซักประวัติ
- แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะเช่นปัสสาวะวันละกี่ครั้งจำนวนมากน้อยเท่าใดชอบกลั้นปัสสาวะ
หรือไม่ปัสสาวะตอนกลางคืนหรือไม่จำนวนกี่ครั้ง
- ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยที่เป็นอปุสรรคต่อแบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะปกติเช่นความสะดวก หรือลำบากในการไปห้องน้ำ ห้องน้ำสะอาดหรือสกปรก อุปกรณ์ในการช่วยเหลือการขับถ่ายปัสสาวะต่างๆ
การตรวจร่างกาย
สังเกตสีปริมาณลักษณะปัสสาวะที่ขับออกมาจากผู้ป่วยและปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะว่ามี
ความผิดปกติหรือไม่ สอดคล้องกับการซักประวัตหรือไม่
-
-
-
การซักประวัติ
- พฤติกรรมการนอนประวัติเกี่ยวกับอุปนิสัยการนอน พฤตกิรรมหรือส่ิงที่ทำให้นอนหลับได้ง่าย
- ปัญหาเกี่ยวกบัการนอน พฤตกิรรมการผ่อนคลายชนิดและความถี่ของกิจกรรมที่ทำเพื่อให้ผ่อนคลาย
การตรวจร่างกาย
- สังเกตหน้าตาว่านอนหลับพักผ่อนเพียงพอหรือไม่
- ความสดชื่นแจ่มใส ซึม อ่อนเพลีย ง่วงนอน หาวนอนบ่อย
- ใต้ตาเป็นรอยเขียวคล้า
-
-
- แบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
1.การรับรู้ ความรู้สึกและการตอบสนอง
- ความสามารถทางสติปัญหา
การซักประวัติ
- ปัญหาเกี่ยวกับความรู้สึกตัวเช่นมีอาการสับสน ซึมไม่รู้สึกตัวและระยะเวลาที่มีอาการ ปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น เช่นเห็นภาพซ้อน ตามัว มองไม่เห็น
การตรวจร่างกาย
- ประเมินระดับความรู้สึกตัว เช่น การลืมตา การสื่อภาษา การเคลื่อนไหวของร่างกายและ
- ตรวจดูความผิดปกติของจมูก ตา หู ลิ้น ตรวจประสาทสัมผัสทางผิวหนัง
-
-
การซักประวัติ
โครงสร้างครอบครัวเช่นจำนวนสมาชิกในครอบครัวมีใครบ้างหรืออยู่คนเดียว หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและสมาชิกคนอื่นๆต่อครอบครัว
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤตกิรรมต่างๆหรือท่าทางที่แสดงออกต่อ ครอบครัวและบุคคลในครอบครัวแสดงต่อผู้ป่วยลักษณะ การโต้ตอบระหว่างผู้ป่วยรวมทั้งบุคคลในครอบครัว เพื่อนผู้ร่วมงานการมาเยี่ยมของคนในครอบครัวด้วย
ตัวอย่างคำถาม
- คุณอยู่กับใคร ครอบครัวมีใครบา้ง
- มีปัญหาในครอบครัวไหม ครอบครัวจัดการ
ปัญหาอย่างไร
- ครอบครัวคิดอย่างไรกับการเจ็บป่วยของคุณ
- ในที่ทำงานมีปัญหาไหมมีเพื่อนสนิทไหม
รู้สึกโดดเดี่ยวไหม
ตัวอย่างข้อมูล
- สมาชิกในครอบครัวมี5คนตัวผู้ป่วยเอง สามี ลูกชาย ลูกสะใภ้ และหลาน
- มีสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว
องค์ประกอบแบบแผนสุขภาพ
1.พฤติกรรมภายในคือพฤติกรรมที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าหรือเครื่องมือวิทยาศาสตรต์รวจสอบได้โดยตรง
- พฤติกรรมภายนอก คือการกระทำที่แสดงออกมาให้สังเกตเห็นได้ รับรู้ได้ หรือใช้เครื่องมือตรวจสอบได้ เช่น กระบวนการทำงานทางกาย หรือทางชีวภาพในระบบต่างๆ เช่น ระบบหายใจ ระบบหัวใจ และหลอดเลือด
-
- แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
การซักประวัติ
แบบแผนเกี่ยวบริโภคและแบบแผนการดำเนินชีวิต(lifestyle) อุปนิสัยในการรับประทานอาหารกินอาหารเป็นเวลาหรือไม่รับประทานเก่งหรือชอบกินจุบกินจิบหรือไม่
-
ประวัติการเป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารเช่นมีแผลหรือโรคภายในช่องปากฟันผุโรค กระเพาะอาหารหรือลไส้อักเสบ โรคตับ ตับอ่อน ถุงน้ำดี และโรคอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินอาหาร
-
-
-
การรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลอัตนัย (Subjectivedata)คือการซักประวัติจากผู้รับบริการหรือญาติ(ในกรณที่
ผู้รับบรกิารไม่สามารถให้ข้อมูลได้หรือให้ข้อมูลได้ไม่ครอบคลุม)
ผู้รับบริการชอบกินข้าวเหนียววันละ3ม้ือ ชอบกินอาหารรสจัดโดยเฉพาะส้มตำ
ปกติเข้านอนตั้งแต่เวลา22.00-06.00น.หลับสนทิท้ังคืนไม่เคยนอนกลางวัน
“ปวดศีรษะขา้งเดยีวปวดตุ๊บๆ”
ข้อมูลปรนัย(Objectivedata)คือข้อมูลที่ได้จากการสังเกต/การตรวจร่างกายการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ท่าทางเหนื่อย อ่อนเพลียขอบตาดำคล้ำ หาวนอนบ่อยยๆ
สีหน้าไม่ค่อยสดชื่น
คลำพบก้อนนบริเววณหน้าท้อง
-