Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด 2, นางสาวจุฬาลักษณ์…
บทที่ 7 การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด 2
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์(Premature Rupture of Membranes)
:
ความหมาย
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ หมายถึง การแตกรั่วของถุงน้ำคร่ำก่อนที่จะมีการเจ็บ ครรภ์คลอดโดยไม่จำกัดเวลาหรืออายุครรภ์
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
1.ประวัติ PPROM ในครรภ์ก่อน โอกาสเป็นซ้ำเพิ่มขึ้น 20เท่า
2.การอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำมีอยู่ก่อนแล้ว
3.มีการอักเสบติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด
การพยาบาลขณะตั้งครรภ์
1.จัดให้นอนพักผ่อนไม่ควรลุกเดินโดยไม่จำเป็น
2.งดการตรวจภายในทางช่องคลอดหรือถวารหนัก
3.ประเมิน VS ทุก 4 ชั่วโมง หากผิดปกติรายงานแพทย์เพื่อการรักษา
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด(Preterm labor, Premature labor)
ความสำคัญ
เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตของทารก
เป็นสาเหตุของการนอนโรงพยาบาลของหญิงตั้งครรภ์ในช่วงก่อนคลอด
ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่อทารกทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
สาเหตุของการเจ็บครรภ์คลอดก่อนเวลากำหนด
1.เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดเอง 40-45%
2.เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดตามหลังการแตกของถุงน้ำคร่ำ 30-35%
แนวทางการดูแลรักษา
1.การนอนพัก Bed rest
2.การให้สารน้ำและการให้ยานอนหลับ
3.การให้ยาระงับการหดรัดตัวของมดลูก ต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและคำนึงถึงข้อบ่งใช้
ทารกโตช้าในครรภ์ Intrauterine growth retardation (IUGR)
ความหมาย
ภาวะน้ำหนักตัวทารกที่น้อยกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่10 เมื่อเทียบกับอายุครรภ์นั้นๆ
ลักษณะของทารกที่น้ำหนักน้อยกว่าอายุครรภ์
1.ส่วนสัดส่วนน้ำหนักน้อยเมื่อเทียบกับอายุครรภ์เท่ากัน
2.ลักษณะทั่วไปดู alert ผอมแห้ง ตัวยาว ท้องแฟบ ผิวหนังแห้งลอก ไขมันไต้ผิวหนังน้อย สายสะดือเหี่ยวเล็ก
3.ศีรษะอาจจะโตกว่าปกติและเล็กกว่าปกติ ผมบาง ถ้าคลอดครบกำหนด suture กว้าง กระหม่อมหน้าจะกว้าง
ผลต่อมารดารและทารก
มารดา
เพิ่มโอกาสในการผ่าตัดคลอดบุตร,ส่งผลกระทบด้านจิตใจรวมไปถึง ภาระค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู
ทารก
Hypoglycemia,hypocalcemia,polycythemai,hyprebilirubinemia
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Post Term Pregnancy)
ความหมาย
การตั้งครรภ์เกินกําหนด (Postterm pregnancy, Prolonged pregnancy) หมายถึง การตั้งครรภ์ที่สตรีมีอายุครรภ์ 42 สัปดาห์เต็ม (294 วัน) หรือมากกว่า 42 สัปดาห์ขึ้นไป (43-44 สัปดาห์) โดยเริ่มนับจากวันแรกที่ประจำเดือนมาครั้งสุดท้าย (Last menstrual period)
ผลกระทบ
มารดา
มีการฉีกขาดมากขึ้นของช่องทางคลอดจากขนาดที่ใหญ่ขึ้นของทารก
มีโอกาสตกเลือดหลังคลอดสูงกว่าครรภ์ปกติ จากมดลูกหดตัวไม่ดี และหรือ บาด แผลจากช่องทางคลอด
ทารก
มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของทารกในครรภ์ ยิ่งตั้งครรภ์เกินกำหนดมากขึ้นเท่าใด โอกาสจะเสียชีวิตของทารกจะมีมากยิ่งขึ้น
มีความเสี่ยงต่อการสำลักน้ำคร่ำของทารก ทารกจะติดเชื้อทางเดินหายใจหลังคลอดได้สูง
ภาวะเครียดของทารก (Fetal distress, การเต้นของหัวใจผิดปกติ) ทารกอาจเสียชีวิตได้
นางสาวจุฬาลักษณ์ เที่ยงธรรม เลขที่23