Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้, นางสาวณัฐิดา…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้
ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
เป็นโรคที่มีการทำลายปลอกหุ้มเส้นประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง ดังนั้นรอยโรคจะอยู่ที่ white matter ในระบบส่วนกลาง
อาการ: relapsing remitting อาการทางระบบประสาทที่เป็นเร็วแล้วไม่กี่วันก็มีอาการดีขึ้นใกล้เคียงปกติ แล้วกลับเป็นซ้ำ
เวียนศรีษะ
Painful tonic spasm
Intractabie hiccup
กลั้นปัสสาวะและอุจจาระไม่อยู่
อาการทางจิตประสาท เช่น ซึมเศร้า, สมองเสื่อม
สาเหตุ
พิษของยา สารพิษ
โรคติดเชื้อ
เนื้องอกกดทับ
ขาดสารอาหาร (วิตามิน)
ภาวะถูกบีบรัดหรือการได้รับบาดเจ็บของเส้นประสาท
การดูแล รักษา
กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ช่วยลดอาการชา อาการปวดได้
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ป้องกันการขาดวิตามิน
ลดการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์
ออกกำลังกาย
Guillain - Barre syndrome
สาเหตุการเกิดโรค
1.การติดเชื้อ
4.โรคนอกระบบประสาท
3.การผ่าตัดและการวางยาสลบ
2.การได้รับวัคซีน
อาการและอาการแสดง
1.อาการด้านประสาทรับความรู้สึก
2.อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
3.อาการลุกลามเส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) ซึ่งพบได้บ่อย คือ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7,9,10 และ 3 ตามลำดับ
การดำเนินโรค
1.ระยะเฉียบพลัน (Acute phase)
2.ระยะอาการคงที่ (Static phase ระยะนี้มักจะเป็นระยะเวลาสั้นๆ 2-3 วัน)
3.ระยะฟื้นตัว (Recovery phase) มักจะเริ่มจากโรคหยุดก้าวหน้า 2-3 สัปดาห์
การพยาบาลระยะวิกฤตก ภาวะอ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลว การพยาบาลผู้ป่วยใส่เครื่องช่วยหายใจ
การรักษา
Intravenous immunoglobulin (IVIG)
Plasmapheresis
Corticosteroid
ไมแอสทีเนียเกรวิส
การพยาบาล
การบริหารยา Mestinon
การรักษา
ยา Mestinon
Thymectomy
อาการและอาการแสดง
Fluctuating skeletal muscle weakness
50% มาด้วยเห็นภาพซ้อน หรือหนังตาตก
15% มาด้วยอาการกลืนสำลัก เคี้ยวอาหารไม่ได้หรือพูดเสียงเปลี่ยน
5% อ่อนแรงต้นแขน หรือต้นขาเพียงอย่างเดียว
Pupil มักปกติ
เป็นโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ภาวะสมองเสื่อมและโรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
อาการทั่วไปที่มักจะพบในผู้ป่วยอัลไซเมอร์
1.ความเปลี่ยนแปลงด้านความจำ นึกคำพูดได้ช้าลง สับสนเรื่องวันเวลา สถานที่ หรือจำบุคคลที่รู้จักหรือคุ้นเคยไม่ได้
2.ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เช่น อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว
3.ความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น ไม่สามารถเดินทางไปในสถานที่คุ้นเคย
การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
การให้ผู้ป่วยคงความสามารถไว้ให้นานที่สุด (เสื่อมลงช้าที่สุด) ประกอบด้วย
เฝ้าระวังเรื่องการหกล้ม
ความสามารถสมอง
กิจวัตรประจำวัน
กระตุ้นฟื้นฟู 6 Domains
กิจวัตรประจำวัน
ความจำ
ประเภทของสมองเสื่อม
โรคสมองเสื่อมอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ บางโรครักษาได้ บางโรครักษาไม่ได้
พบได้บ่อยเป็นอันดับที่สอง สามารถรักษาให้ดีขึ้นและป้องกันได้ อาการสมองเสื่อมจะเกิดขึ้นหลังจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้สมองส่วนนั้น
สมองเสื่อมเกิดจากการเสื่อมของเซลล์สมอง (Degenerative dementia)
สาเหตุ
5.Neopiasm
4.Trauma
3.Intections
2.Vascutar dementia
1.Degenerative
การวินิจฉัย
Cognitive impaiment และ มีความบกพร่องอย่างน้อย 1 อย่าง
-พูดไม่ถูก (aphasia)
-ทำไม่เป็น (apraxia)
-ไม่รู้จัก ไม่รู้เรื่อง (agriosia)
-ความบกพร่องในเรื่องบริหารจัดการ
ความผิดปกติบกพร่องทางด้านความจำ ความคิด และความสามารถของสมองซึ่งรุนแรงจนรบกวนการดำเนินชีวิตผู้ป่วย
Pakinson disease
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา
2.การรักษาด้วยการกายภาพบำบัด
3.การรักษษด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดฝังขั้วไฟฟ้าแล้วปล่อยไฟฟ้าเข้าไปกระตุ้นสมอง
การผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก (Deep brain stimulation)
การผ่าตัดสมองเพื่อปลูกถ่ายเนื้อเยื่อชนิดที่ผลิตสารโตพามินได้ (Neurotransptantation)
กิจวัตรประจำวัน
-อุบัติเหตุ
-ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในแต่ละระยะของโรค
เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองและระบบประสาทที่พบได้บ่อยเป็นอันดับ 2 รองจากโรคอัลไซเมอร์
อาการของโรคพาร์กินสัน
1.อาการสั่นในขณะช่วงพัก (Resting)
2.อาการที่ร่างกายมีสภาพแข็งเกร็ง (Rigidity)
3.อาการเคลื่อนไหวร่างกายช้าลง (Bradykinesia)
มีอาการพูดเสียงเครือๆ เบา ฟังไม่ชัด น้ำเสียงจะราบเรียบในระดับเดียวกัน
การเคลื่อนไหวของใบหน้าลดลง ผู้ป่วยจะมีใบหน้าแบบเฉยเมย ไม่มีอารมณ์ ไม่ยิ้มหัวเรา
การเคลื่อนไหวของลำตัวและขาช้าลงก้าวขาสั้นๆ
นางสาวณัฐิดา ข่วงทิพย์ 6301110801084