Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วย 7 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ, นางสาวชมพูนุท…
หน่วย 7 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบหัวใจ
การประเมินสภาพความผิดปกติของหัวใจ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
สังเกตระดับความรู้สึกตัว อาการเหนื่อยลักษณะการหายใจ เปรียบเทียบความสูงและน้ำหนัก เนื่องจากอาการผอมแห้งมักพบในผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจล้มเหลวเรื้อรัง
ตรวจดูหลอดเลือดดำที่คอว่ามีอาการโปงตึงหรือไม เพื่อประเมินค่า JVP หรือค่าโดยประมาณของ CVP
ค่า CVP ปกติ 4-10 หรือ 5-15 เซนติเมตรน้ำ
สูงกว่าปกติ = Right heart failure, Tricuspid regurgitation, Cardiac tamponade
ต่ำกว่าปกติ = Hypovolemia อาจนำไปสู่ Low output failure
การคลำบริเวณหัวใจ
Apical impulse, PMI ในภาวะปกติการเต้นของชีพจรจะสัมพันธ์กับช่วงจังหวะหัวใจบีบตัวมีลักษณะเบา ไม่กระจาย มีรัศมีไม่เกิน 2 เซนติเมตร ในผู้ป่วยที่มี Ventricle ซ้ายโตผิดปกติ PMI จะมีรัศมีกว้างและเลื่อนต่ำลงด้านล่างหรือค่อนไปทางด้านข้างของทรวงอก
Retraction เป็นลักษณะกระดูกซี่โครงด้านซ้ายถูกดึงรั้ง บริเวณช่องระหว่างซี่โครงที่ 5 ในแนว Midclavicular line มักเกิดจากโรคของเยื่อหุ้มหัวใจ
Heaves เป็นลักษณะแรงกระเพื่อมของผนังทรวงอกด้านหน้าหัวใจ เกิดจาก Ventricle มีขนาดใหญ่จนชิดผนังทรวงอก และส่งแรงดันกระทบฝ่ามือตามการบีบตัวของหัวใจลักษณะนี้พบได้ในผู้ป่วยโรคลิ้นหัวใจ
Thrills เป็นคลื่นสะเทือนที่คลำได้เกิดจากการไหลวนผิดปกติของเลือดถ้าใช้หูฟังจะได้ยินเป็นเสียง Murmur มักพบในผู้ป่วยที่มีภาวะ Severe mitral regurgitation หรือ Ruptured ventricular septum
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
SGOT, LDH, CK, CBC, ESR, PT, PTT, INR
การตรวจพิเศษ
EKG, Exercise stress test, การตรวจสวนหัวใจ, Echocardiography
โรคและความผิดปกติของหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
อาการ เจ็บหน้าอก
Non-STEMI
STEMI
Unstable angina
ภาวะหัวใจล้มเหลว
สาเหตุ
ความผิดปกติที่เพิ่มภาระงานให้หัวใจ
ความผิดปกติที่รบวนการสูบฉีดเลือดของหัวใจ
ชนิด
Left versus right ventricle failure
Low output & high output syndrome
Systolic & Diastolic dysfunction
Infective endocarditis
อาการและอาการแสดง
มีไข้เกิน 1 เดือนมักไม่มีอาการเฉพาะที่ อาจมีอาการจากภาวะแทรกซ้อนบริเวณที่ติดเชื้อ
การรักษา
การให้ยาต้านจุลชีพ
การผ่าตัด
Cardiomyopathy
RCM
เหนื่อยเมื่อออกแรง
รักษาด้วยยาต้านหัวใจเต้นผิดปกติ ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ผ่าตัดกรณีรุนแรง
HCM
ความทนต่อกิจกรรมลดลง หายใจลำบาก CVP สูงบวม หัวใจห้องขวาล่างล้มเหลว
ผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ
DCM
มีอาการทีละน้อยๆ ความดันต่ำ หายไม่อิ่มและลำบาก หัวใจเต้นช้าลง
ใช้ Supportive treatment ยาต้านการเต้นหัวใจผิดปกติ ผ่าตัดกรณี EF น้อยกว่า 25%
การผ่าตัดหัวใจ
การผ่าตัดหัวใจแบบปิด (Closed heart surgery)
การผ่าตัดหัวใจที่กระทำเฉพาะภายนอกของหัวใจและไม่จำเป็นต้องใช้ เครื่องหัวใจและปอดเทียม (Heart-Lung machine) ในขณะผ่าตัดนั้น หัวใจยังทำหน้าที่สูบฉีดโลหิตไปส่วนต่างๆของร่างกายตามปกติส่วนใหญ่การผ่าตัดชนิดนี้ใช้ในการผ่าตัดรักษาโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดบางชนิด เช่น Patent ductus arteriosus และ Palliative systemic to pulmonary shunt ในการักษา Cyanosis congenital heart disease
การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด (Open heart surgery)
การผ่าตัดหัวใจที่ในขณะผ่าตัดหัวใจอยู่นั้นหัวใจไม่สามารถทำงานได้ตามปกติจำเป็นต้องใช้เครื่องหัวใจและปอดเทียม (Heart-Lung machine) เพื่อทำหน้าที่แทนหัวใจและปอดของผู้ป่วย
แผลผ่าตัดหัวใจ
แผลผ่าตัดกึ่งกลางหน้าอก (Median sternotomy)
ใช้กับการผ่าตัดหัวใจโดยส่วนใหญ่ โดยการตัดกระดูก sternum ในแนวกึ่งกลางตั้งแต่ sternal notch จนถึง xyphoid process แล้วใช้เครื่องมือถ่างกระดูก sternum ให้แยกจากกันแล้วจึงเปิดเยื่อหุ้มหัวใจเพื่อทำการผ่าตัดต่อไป
แผลผ่าตัดด้านข้างหน้าอก (Anterolateral or Poaterolateral thoracostomy)
ส่วนใหญ่ใช้กับการผ่าตัดหัวใจแบบปิด เช่น การผ่าตัดผูก patent ductus arteriosus เป็นต้น แต่ก็สามารถใช้กับการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดบางชนิดได้ เช่น การผ่าตัดปิดรูรั่วผนังกั้นหัวใจช่องบนและการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจไมทรัล เป็นต้น โดยจะเปิดแผลทางด้านข้างลำตัวผ่านระหว่างกระดูกซี่โครง แล้วใช้เครื่องมือถ่างกระดูกซี่โครงให้แยกจากกัน
นางสาวชมพูนุท บุกสันเทียะ รหัสนิสิต 62106010030 Sec.B02