Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคโลหิตจางที่เป็นอันตราย Pernicious anemia - Coggle Diagram
โรคโลหิตจางที่เป็นอันตราย Pernicious anemia
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เจ็บหน้าอก ผิวสีซีด
อาการทางระบบประสาท
ท่าเดินผิดปกติ กล้ามเนื้อขาไม่แข็งแรง
ปลายประสาทอักเสบ
มีอาการชาที่แขนขา
มีอาการซึมเศร้า
สมองเสื่อม
ความจำเสื่อม สับสน หลงลืม
อาการในระบบทางเดินอาหาร
คลื่นไส้ และอาเจียน
อาหารไม่ย่อย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ท้องผูก ท้องเสีย
เจ็บปาก ลิ้นเลี่ยนแดง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการพร่องออกซิเจนเนื่องจากอ่อนเพลีย
กิจกรรมการพยาบาล
บันทึกและประเมิณสัญญาณชีพ โดยเฉพาะอัตราการหายใจอยู่ในช่วง16-12ครั้ง/นาที ลักษณะการหายใจปกติไม่มีอาการหายใจเร็ว แรง หรือปีกจมูกบาน เพื่อประเมิณระดับความรุนแรงของอาการผิดปกติ
ประเมินอาการแสดงของภาวะซีดจาง คือ ดูสีของผิวหนัง ซีดเหลื่อง ตัวเย็น เยื่อบุตาซีด เพื่อประเมินอาการผิดปกติ
ประเมินระบบไหลเวียนของเส้นโลหิตฝอย ที่บริเวณปลายมือปลายเท้า โดยใช้นิ้วกดบริเวณปลายมือ นิ้ว เท้าแล้วปล่อยทันทีเนื่องจากถ้าปลายนิ้วมือนิ้วปลายเท้าที่ถูกกดยังคงซีดขาวเป็นเวลานานกว่า 2 นาที
ประเมิณค่าO2 Saturation เนื่องจากเป็นการวัดระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
จัดท่านอนศรีษะสูง เพื่อทำให้กระบังลมเคลื่อนต่ำลงปอดขยายตัวได้เต็มที่เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊สมากขึ้น
เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากเบื่ออาหารและน้ำหนักลด
ประเมินสภาวะการขาดอาหาร น้ำหนักลดหรือต่ำกว่าเกณฑ์ปกติตามอายุเพื่อให้ทราบว่าผู้ป่วยอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ประเมิณบริเวณช่องปากเนื่องจากผู้ป่วยเจ็บบริเวณปากเพื่อหลีกเลี่ยงอาหารรสจัดและการรับประทานอาหารที่ร้อนเกินไป
ควรให้อาหารที่เป็นน้ำาหรืออาหารเหลวก่อนอาหารหลักเพื่อช่วย
กระตุ้นการเคลื่อนไหวของลําไส้ทําให้รับประทานอาหารได้มากขึ้น
ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารอ่อนที่มีโปรตีนคุณภาพสูง พลังงานสูงให้รับประทานทีละน้อยแต่ บ่อยครั้ง เพื่อให้ได้อาหารตามแผนการรักษาที่กําหนดไว้
5.สอบถามผู้ป่วยเกี่ยวกับอาหารที่ชอบทานและจัดจานอาหารให้มีสีสันน่ารับประทานเพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยอยากอาหารเพิ่มมากขึ้น
มีอาการท้องผูกเนื่องจากรับประทานอาหารที่มีกากใยน้อย
กระตุ้นให้ทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ลำไส้มีการเคลื่อนไหวได้ดีและทำให้รูทวารหนักแข็งแรงมากขึ้น
กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้รับน้ำให้เพียงพอเพื่อทดแทนน้ำที่สูญเสียออกจากร่างกาย
ฟัง Bowel sound (วันละ 1-2 ครั้งเช้า-เย็น)เพื่อประเมินการเคลื่อนไหวของลำไส้
ประเมินการถ่ายอุจจาระทุกวัน สังเกต บันทึกลักษณะ และระยะเวลาในการขับถ่ายเพื่อดูปริมาณการขับถ่ายในแต่ละวัน
รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาให้ยาระบายหรือสวนอุจจาระหากให้การพยาบาลแล้วยังไม่ดีขึ้น
พยาธิสภาพ
เมื่อมีการฝ่อของเยื่อบุของกระดพาะอาหารส่วนต้น Giandular mucosa fo gastric fundus ทำให้ขาด lntrinsic factor อาจเกิดจากพันธุกรรม มักเป็นหลายๆคนในครอบครัว ความผิดปกตินี้อาจเกิดจากออโตอิมมูน ทำให้วิตามินบี12 ที่เก็บสะสมไว้ถูกนำมาใช้จนหมด
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติ
ซักถามประวัติคนในครอบครัว และ พันธุกรรม
มีอาการอ่อนเพลีย เจ็บปาก ชาที่แขนขา คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ท้องอืด ท้องเสีย และท้องผูก
การตรวจร่างกาย
จะเห็นริมฝีปาก เหงือกและลิ้นแดง
ตาขาวมีสีเหลือง และซีดเล็กน้อย
ผิวอาจดูเหลืองในรายที่มีการเสียเลือดทำให้มีบิลิรูบินสูงในเลือด
ชีพจรเร็วและฟังเสียงหัวใจได้ยินSystolic murmur
ควบคุมการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะไม่ได้ อาจพบว่าผู้ป่วยซึมเศร้า เดินเซ ความจำเสื่อม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจ(CBC) เป็นการตรวจปริมาณและลักษณะของเม็ดเลือดทั้งสามชนิด ได้แก่ เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด
การทดสอบSchilling test จะสามารถแยกสาเหตุของการขาดวิตามินบี12ว่าเกิดจากการขาดสารอาหารหรือจากการขาดlntrinsic factor
ระดับฮีโมโกบินต่ำ และจำนวนเม็ดเลือดแดงต่ำ ปริมาณMeancorpuscular volume
เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดต่ำ ระดับวิตามินบี12ในเลือดต่ำ และระดับSerum lactate dehydrogenase สูง
การตรวจไขกระดูกพบErythroid hyerplasia และMegaloblas เม็ดเลือดแดงปกติ การตรวจกระเพาะกระเพาะอาหาร ไม่พบกรดเกลือหลังจากฉีดวัคซีน