Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 อาหารและโภชนาการสำหรับบุคคลในวัยต่าง ๆ, นายโชติพัฒน์…
บทที่ 4 อาหารและโภชนาการสำหรับบุคคลในวัยต่าง ๆ
ธงโภชนาการ
เครื่องมือที่จะช่วยอธิบาย และทำความเข้าใจโภชนบัญญัติ
เพื่อนำไปสู่การกินอาหารในแต่ละวันได้อย่างถูกต้อง
โภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์
ต้องการโปรตีนคุณภาพในปริมาณที่สูง
คาร์โบไฮเดรต : หลีกเลี่ยงอาหารที่มีน้ำตาลสูง
ไขมัน
ควรหลีกเลี่ยงกรดไขมันอิ่มตัว
ควรรับประทานกรดไขมันไม่อิ่มตัว
วิตามิน
D
E
A
B1
B2
B6
กรดโฟลิค หรือโฟเลท (วิตามินบีชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญต่อหญิงตั้งครรภ์)
B12
C
เพิ่มเกลือแร่ต่าง ๆ
เหล็ก ธาตุเหล็ก
ไอโอดีน
แคลเซียม
ฟอสฟอรัส
หญิงให้นมบุตร
อาหารที่ให้พลังงาน
โปรตีน
ไขมัน
คาร์โบไฮเดรต
เด็กวัยทารก
โปรตีนเป็นสารอาหารที่จำเป็นอย่างยิ่งในการเจริญเติบโตของร่างกายและสมอง
วิตามิน
B2
ไนอะซิน
B1
C
D
โฟลาซิน
A
ความต้องการเกลือแร่
แคลเซียม
เหล็ก
ระยะของน้ำนมมารดา
น้ำนมในระยะปรับเปลี่ยน
น้ำนมระยะเต็มวัย
น้ำนมเหลือง หรือ หัวน้ำนม
เด็กวัยก่อนเรียน
อายุ 1–5 ปี
มีการเจริญเติบโตย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกายและสมอง
ควรได้รับอาหารที่มีโปรตีนมากเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต
ความต้องการวิตามินและเกลือแร่
ธาตุเหล็ก
แคลเซียม
วิตามิน A
เด็กวัยเรียน
อายุระหว่าง 6-12 ปี
อัตราการเจริญเติบโตจะช้ากว่าวัยทารกและวัยก่อนเรียน
มีพัฒนาการทางด้านกระดูก ฟัน กล้ามเนื้อ และระบบต่างๆ
ต้องการโปรตีนที่คุณภาพและปริมาณอย่างเพียงพอ
วิตามินและเกลือแร่เป็นสารอาหารที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก
แคลเซียม และฟอสฟอรัส
ไอโอดีน
สังกะสี
ความต้องการวิตามินและเกลือแร่
B2
C
B1
วัยรุ่น
ผู้ชาย
เข้าสู่วัยรุ่น ช่วง 13-16 ปี
ผู้หญิง
เข้าสู่วัยรุ่น ช่วง 11-13 ปี
เกิดการเปลี่ยนแปลงสรีระชัดเจนเมื่อวัยรุ่น 13-14 ปี
การเจริญเติบโตจะลดลงและสิ นสุดเมื่ออายุ 17 ปี
เด็กหญิงจะเริ่มมีประจำเดือน
การเจริญเติบโตของกระดูกสิ้นสุดเมื่ออายุ 20 ปี
วัยผู้ใหญ่
อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป
ร่างกายจะไม่มีการเสริมสร้างเพื่อการเจริญเติบโตอีก
เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น การทำงานของเซลล์ต่าง ๆ จะลดและช้าลง
แบ่งวัยผู้ใหญ่เป็น 3 ช่วง
อายุ 31-50 ปี
อายุ 51-60 ปี
อายุ 20-30 ปี
ความต้องการพลังงานในวัยผู้ใหญ่
กินไขมันไม่ควรเกินร้อยละ 35 ต่อวัน
ควรได้รับพลังงานให้สมดุลกับแรงงานที่ใช้
กินคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 45-65 ต่อวัน
ควรได้รับโปรตีนคุณภาพสมบูรณ์
ผู้สูงอายุ
อายุ 60 ปีขึ้นไป
การสลายของเซลล์มากกว่าการสร้าง ทำให้อวัยวะต่าง ๆ ทรุดโทรมและร่างกายแก่ลง
พยายามรักษาน้ำหนักร่างกายให้คงที่
พลังงานที่ผู้สูงอายุได้รับไม่ควรต่ำกว่า 1,200 กิโลแคลอรี
ควรกินไขมันแต่พอควร
ควรได้รับโปรตีนให้เพียงพอเพื่อใช้ในการซ่อมแซมเซลล์ที่สึกหรอ
นายโชติพัฒน์ นุเคราะห์กันฑ์
63224064