Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การจัดโปรแกรมฝึกการออกกำลังกายให้เหมาะสม, นายโชติพัฒน์…
บทที่ 9
การจัดโปรแกรมฝึกการออกกำลังกายให้เหมาะสม
การฝึกตามองค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
เพื่อเสริมสร้างความเร็ว
เพื่อเสริมสร้างความคล่องแคล่วว่องไว
เพื่อเสริมสร้างกำลังหรือพลังของกล้ามเนื้อ
เพื่อเสริมสร้างความอ่อนตัว
เพื่อเสริมสร้างความอดทนของกล้ามเนื้อ
เพื่อเสริมสร้างความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ
เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
อุณหภูมิ
ระดับการฝึก
ความเมื่อยล้า
การพักผ่อนระหว่างการฝึก
การเรียงตัวของเส้นใยกล้ามเนื้อ
อายุและเพศ
ปริมาณของสารอาหาร
หลักและวิธีการฝึกเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง
ต้องฝึกจนถึงจุดที่กล้ามเนื้อนั้นใกล้ล้า (Pre-Fatigue Point)
การฝึกแบบไอโซโทนิค (Isotonic) หรือไอโซเมตริก
(Isometric) ให้ผลที่ไม่แตกต่างกัน
การทำซ้ำ ๆ (Repetition) ในแต่ละชุด
การฝึกแบบไอโซโทนิค จะต้องทำให้สุดช่วงของการเคลื่อนไหวของข้อต่อ
(Full Range of Motion of the Joint)
ควรฝึกวันละ 3 - 4 ชุด (Set) ชุดละ 3 - 7 ครั้ง (Repetition)
การฝึกในช่วง 3 เดือนแรก ควรฝึก 1-2 วัน/สัปดาห์ แล้วเพิ่มจำนวนวันขึ้นเรื่อย ๆ
คำนึงถึงหลักการเพิ่มน้ำหนัก (Overload Principle)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความอดทนของกล้ามเนื้อ
ออกซิเจนในระบบไหลเวียนโลหิต
การระบายความร้อนออกจากร่างกาย
ปริมาณเชื้อเพลิงที่มีอยู่ในร่างกาย
ความสามารถของระบบไหลเวียนที่จะลดลง
ชนิดของกล้ามเนื้อ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเร็ว
อายุ/เพศ
อุณหภูมิ
ความยาวของกล้ามเนื้อ
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ลักษณะเส้นใยของกล้ามเนื้อ
ระบบประสาท
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกำลังของกล้ามเนื้อ
อุณหภูมิของกล้ามเนื้อและการหดตัวของกล้ามเนื้อ
ความเมื่อยล้า
ความสามารถของกล้ามเนื้อที่จะสะสม เอทีพี (ATP) และพีซี (PC)
การฝึกกล้ามเนื้อที่ได้รับการฝึกอยู่เป็นประจำ
ชนิดของเส้นใยกล้ามเนื้อ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความคล่องแคล่วว่องไว
อายุ / เพศ
น้ำหนักของร่างกาย
ลักษณะรูปร่างของร่างกาย
ความเมื่อยล้า
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความอ่อนตัว
อายุและเพศ
อุณหภูมิ
ระดับของการออกกำลังกาย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิต
เพศ
ชนิดของรูปร่าง
อายุ
ไขมันในร่างกาย
ทักษะในการออกกำลังกาย
อุณหภูมิ
จังหวะ
ความจุปอด
หลักการจัดโปรแกรมการฝึกเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
การฝึกจะต้องใช้หลักการปรับเพิ่มความหนัก
(Overload Principle)
การพักผ่อน
การฝึกจะต้องทำเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ
การฝึกจะต้องกระทำอย่างต่อเนื่อง
ฝึกจากน้อยไปมากฝึก จากเบาไปหาหนัก
การบำรุงร่างกายหรือการรับประทานอาหาร
นายโชติพัฒน์ นุเคราะห์กันฑ์
63224064