Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 โภชนาการกับการออกกำลังกาย, นายโชติพัฒน์ นุเคราะห์กันฑ์ 63224064 -…
บทที่ 6 โภชนาการกับการออกกำลังกาย
สิ่งสำคัญสำหรับผู้ออกกำลังกายและนักกีฬา
วิตามิน (Vitamins)
วิตามินที่ละลายในน้ำ
วิตามิน B C
วิตามินที่ละลายในไขมัน
วิตามิน A D E K
หากมีมากเกินไปจะสะสมอยู่ในเซลล์และตับ ทำให้เกิดโรคหรือความผิดปกติ
น้ำ (Water)
การออกกำลังกายหนักจะทำให้สูญเสียน้ำจากร่างกาย
การสูญเสียน้ำมาก ๆ จะทำให้เกิดอาการอ่อนเพลีย
เกลือแร่ (Mineral)
โพแทสเซียม
ทำหน้าที่ให้กล้ามเนื้อหดตัว
แคลเซียม
องค์ประกอบของกระดูก
โซเดียมคลอไรด์
หากร่างกายขาดเกลือจะทำให้ร่างกายทำงานต่อไปไม่ไหว
เหล็ก
องค์ประกอบของเม็ดเลือดแดง
อาหาร (Food)
ก่อนการแข่งขัน 3 - 4 ชั่วโมง
เลือกอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตสูง
ไขมันต่ำ
มีกากหรือใยอาหารสูง
หลีกเลี่ยงอาหารที่ย่อยยาก
ภายใน 60 นาทีก่อนการแข่งขัน
ควรกินอาหารคาร์โบไฮเดรตที่มีค่าดัชนีน้ าตาลต่ำ
ควรดื่มน้ำมาก ๆ
ไขมันและใยอาหารต่ำ
อาหารก่อนวันแข่งขัน
ต้องเติมไกลโคเจนให้แก่กล้ามเนื้อให้มากที่สุด
เลี่ยงอาหารหวาน
อาหารหลักควรเป็นประเภทคาร์โบไฮเดรต
ระหว่างการแข่งขัน
หากแข่งขันไม่เกิน 1 ชั่วโมง ไม่จำเป็นต้องดื่มน้ำผสมเกลือแร่
ดื่มน้ำพื่อป้องกันการขาดน้ำ
หลังการแข่งขัน
ควรกินคาร์โบไฮเดรตที่มีค่าดัชนีน้ำตาลปานกลางถึงสูงทันที
อาหารสำหรับนักกีฬาและผู้ออกกำลังกาย
ควรได้รับน้ำและอาหารอย่างเพียงพอเพื่อสร้างกล้ามเนื้อ
ควรเน้นโปรตีนที่มีคุณภาพและมีประโยชน์
วิตามินและเกลือแร่จะช่วยในการเผาผลาญของร่างกาย
ปริมาณของพลังงานแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ
อายุ
รูปร่างหรือปริมาณมวลไร้ไขมัน
เพศ
ความถี่ในการออกกำลังกาย
ระยะเวลา
อาหารต้านและบำบัดโรค
อาหารต้านและบำบัดโรคมะเร็ง
ถั่ว
เมล็ดธัญพืช
ปลากน้ำจืด
สาหร่ายทะเล
ผัก
เบอร์รี่
ชาเขียว
เครื่องเทศ
โยเกิร์ต
เห็ด
อาหารต้านและบำบัดโรคความดันโลหิตสูง
ลดปริมาณไขมันในอาหาร
รับประทานผักสดและผลไม้
ลดอาหารรสจัด
การลดการกินเกลือโซเดียมในอาหาร
ธัญพืช
ปัจจัยเช่น อารมณ์ ความเครียดอุณหภูมิ อากาศ
การเล่นกีฬา หรือการพักผ่อน
อาหารต้านและบำบัดโรคหัวใจ
ไวท์แดง
อัลมอนด์
โฮลเกรน
แซลมอน
ผักโขม
อาหารต้านและบำบัดโรคเบาหวาน
ลดปริมาณการบริโภคอาหารที่มีน้ำตาลสูง
เกิดจากปัจจัยทางกรรมพันธุ์ และนิสัยการกิน
ลักษณะอาการของเบาหวานมี 2 ชนิด
ผู้ใหญ (มักเกิดในวัย 40 ขึ้นไป)
เด็กหรือวัยรุ่น
อาหารที่ช่วยต้านเบาหวาน
มะระจีน
ใบมะยม
ฟักทอง
ถั่วเปลือกแข็ง
ผักบุ้ง
ขมิ้นและอบเชย
ตำลึง
เมล็ดธัญพืชไม่ขัดสี
สะตอ
กระเทียมและหัวหอม
อาหารต้านและบำบัดโรคไต
อาหารที่ช่วยลดความเสี่ยงการเป็นโรคไต
แครนเบอร์รี่
น้ำมันมะกอก
ไข่ขาว
พืชตระกูลกะหล่ำ
ปลาสด
กระเทียมสดและหัวหอม
แอปเปิล
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
ไขมันจากสัตว์
อาหารที่มีฟอสฟอรัส
รสเค็ม
อาหารที่มีโพแทสเซียมสูง
ผัก ผลไม้ ที่ไม่ควรทาน
กล้วยหอม
ส้มสายน้ำผึ่ง
ทุเรียน
ผักโขม
น้ำลูกยอ
หน่อไม้
มะเฟืองเปรี้ยว
อาหารต้านและบำบัดโรคเก๊าท์
ผู้ชายมีโอกาสเป็นโรคเกาต์มากกว่าผู้หญิง
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีพิวรีนสูง
อาหารที่มีพิวรีนปานกลาง
หน่อไม้
ผักโขม
ปลาหมึก ปู
ถั่วลิสง ถั่วลันเตา
เนื้อหมู เนื้อวัว
อาหารที่มีพิวรีนสูง
สัตว์ปีก
เครื่องใน
กะปิ
ไข่ปลา
กุ้ง
ปลาไส้ตัน
เห็ด
อาหารที่มีพิวรีนน้อย
ไข่และผลิตภัณฑ์จากนม
ผักและผลไม้
ธัญพืช
อาหารต้านและบำบัดโรคกระดูกพรุน
เกิดจากการขาดฮอร์โมน ขาดการออกกำลังกาย และขาดแคลเซียม
ควรทานอาหารที่มีแคลเซียมสูงอย่างต่อเนื่อง
ผู้หญิงวัยทองที่มีกระดูกบางหรือน้ำหนักตัวน้อยมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคกระดูกพรุนพอ ๆ กับผู้ชายที่มีระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนต่ำ
ทานแคลเซียมปริมาณมากตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยรุ่นจะช่วยทำให้มวลกระดูกมีความแข็งแรงสูงสุด
นายโชติพัฒน์ นุเคราะห์กันฑ์
63224064