Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทและการรับรู้, นางสาวศิริวรรณ…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทและการรับรู้
ภาวะสมองเสื่อมและโรคอัลไซเมอร์ (Dementia and Alzheimer’s disease)
Cognitive impairment
Judgment การตัดสินใจ
Imagining จินตนาการ
Memory ความจำ
Thinking ความคิด
“ ความผิดปกติบกพร่องทางด้านความจํา ความ คิด และความสามารถของสมอง ซึ่งรุนแรงจน รบกวนการดําเนินชีวิตผู้ป่วย ”
การวินิจฉัย
Cognitive impairment มีความบกพร่องอย่างน้อยอีก 1 อย่าง
ทำไม่เป็น (apraxia)
ไม่รู้จัก ไม่รู้เรื่อง (agnosia)
ความบกพร่องในเรื่องการบริหารจัดการ (disturbance in executive functioning)
พูดไม่ถูก (aphasia)
สาเหตุ
Infections
Trauma
Vascular dementia
Neoplasm
Degenerative change
Vitamin deficiency
Endocrine/Metabolic
Normal pressure hydrocephalus
Toxins
Vasculitis
ประเภทของสมองเสื่อม
สมองเสื่อมจากโรคหลอดเลือดในสมอง (Vascular dementia)
พบได้บ่อยอันดับที่สอง สามารถรักษาให้ดีขึ้นและป้องกันได้ เกิดขึ้นหลังจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้สมองส่วนนั้นเสื่อม
สาเหตุหลักของโรค
โรคเบาหวาน
ภาวะไขมันในเลือดสูง
โรคความดันโลหิตสูง
การสูบบุหรี่
สมองเสื่อมจากโรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer disease)
พบได้บ่อยในช่วงอายุ 50 ปีขึ้นไป เกิดขึ้นโดยที่ไม่ทราบสาเหตุ เกิจากการตายของเซลล์ประสาทโดยไม่มีการสร้างใหม่ขึ้นมาทดแทน เมื่อตรวจภาพสมองจะพบเนื้อสมองเหี่ยวทำให้การทำงานของสมองค่อยๆ
การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
การให้ผู้ป่วยคงความสามารถ
ไว้ให้นานที่สุด (เสื่อมลงช้าที่สุด)
ความจำ
กิจวัตรประจำวัน
ความสามารถสมอง
กระตุ้นฟื้นฟู 6 Domains
อาการทั่วไปมักพบในผู้ป่วยอัลไซเมอร์
ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เช่น อารมณ์ แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว หวาดระแวง ซึมเศร้า
ความเปลี่ยนแปลงในการดําเนินชีวิตประจําวัน เช่น ไม่ สามารถเดินทางไปในสถานที่คุ้นเคย
ความเปลี่ยนแปลงด้านความจํา นึกคําพูดได้ช้าลง สับสนเรื่องวัน เวลา สถานที่ หรือจําบุคคลที่เคยรู้จัก หรือคุ้นเคยไม่ได้
ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
(Multiple sclerosis)
โรคที่มีการทําลายปลอกหุ้มเสันประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง
รอยโรคจะอยู่ที่ white matter ในระบบประสาทส่วนกลาง คือ
สมองใหญ่ (cerebrum)
สมองน้อย(cerebellum)
เส้นประสาทตา (optic nerve)
ก้านสมอง (brainstem)
อาการ
Sensory system
การรับความรู้สึกที่ข้อต่อว่าอยู่ที่ตำแหน่งใดลดลง (joint position sense): อาจมาด้วยเดินเซโดยเฉพาะเมื่อให้ยืน แล้วหลับตาลงจะเซมากขึ้น
การรับความรู้สึกลดลง (hypoesthesia), ชา(numbness)
Vision การมองเห็น
ตากระตุก (nystagmus)
การลอกตาผิดปกติ
: ผู้ป่วยจะมองเห็นภาพซ้อน
ตามัว (visual loss)
: เป็นอาการแรกๆ ของโรคที่พบบ่อย, ตามัวมักจะมัวมากที่บริเวณกลางภาพก่อน ถ้าเป็นมากตาจะบอดได้
Progressive
อาการทางระบบประสาทค่อยเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ ช้าๆ
อาการอื่นๆ
เวียนศีรษะ
Painful tonic spasm
Intractable hiccup
กลั้นปัสสาวะและอุจจาระไม่อยู่
อาการทางจิตประสาท เช่น ซึมเศร้า สมองเสื่อม
Pakinson disease
โรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองและ ระบบประสาทที่พบได้บ่อยเป็นอันดับที่ 2
รองจากโรคอัลไซเมอร์
อาการโรคพาร์กินสัน
1.อาการสั่นในขณะช่วงพัก (Resting tremor)
เกิดอาการสั่นขึ้นที่นิ้วมือก่อน เรียกว่า Pill-rolling จะมีอาการสั่นมากเวลาที่อยู่นิ่งๆ
2.อาการที่ร่างกายมีสภาพแข็งเกร็ง (Rigidity)
กล้ามเนื้อแขนขาและลําตัว เมื่อผู้อื่นมาจับแขนหรือขาของผู้ป่วยโยกเข้าออกหรือขึ้นลงตามข้อมือ ข้อศอก จะรู้สึกเหมือนมีแรงต้าน หรือสะดุดเป็นจังหวะๆ
3.อาการเคลื่อนไหวร่างกายช้าลง(Bradykinesia)
การเคลื่อนไหวของใบหน้าลดลง ผู้ป่วยจะมีใบหน้าแบบเฉยเมย
ไม่มีอารมณ์ ไม่ยิ้มหัวเราะ
มีอาการพูดเสียงเครือๆ เบา ฟังไม่
ชัด นํ้าเสียงจะราบเรียบในระดับเดียวกัน ไม่มีเสียงสูงหรือตํ่า
การรักษา
การรักษาด้วยกายภาพบำบัด
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดฝังขั้วไฟฟ้าแล้วปล่อยไฟฟ้า เข้าไปกระตุ้นสมอง
การผ่าตัดสมองเพื่อปลูกถ่ายเนื้อเยื่อชนิดที่ผลิต สารโดพามีนได้ (Neurotransplantation)
การผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก (Deep brain stimulation
การรักษาด้วยยา
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral neuropathy)
กลุ่มเสี่ยง
ผู้ที่ทำงานพักผ่อนน้อย
ดื่มสุรา ดูดบุหรี่
ผู้ป่วยเบาหวาน
ขาดวิตามิน บี 1,6,12
อายุ 30 ปีขึ้นไป
อาการ
เส้นประสาทคู่ที่ 5 : ปวดเสียวแปร๊บๆ บนในหน้า คล้ายถูกไฟช็อต เป็นด้านใดด้านหนึ่ง
เส้นประสาทคู่ที่ 7 : ใบหน้าเบี้ยว อ่อนแรงครึ่งซีก
เส้นประสาทคู่ที่ 3,4,6 เห็นภาพซ้อนแนวใดแนวหนึ่ง
เส้นประสาทที่ 8 : สูญเสียการทรงตัว บ้านหมุน
การดูแลรักษา
ออกกำลังกาย
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
ลดการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์
การผ่าตัด
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ป้องกันการขาดวิตามิน
กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ช่วยลดอาการชา อาการปวดได้ เช่น การอาบนํ้าอุ่น ควบคุมนํ้าหนัก
ปลอกปลายประสาทส่วนปลายอักเสบ (Guillian-Barre Syndrome : GBS)
มีอัมพาตของเซลล์ประสาทการเคลื่อนไหว (Motor neuron) ทําให้มีอาการอ่อนแรงแบบปวกเปียก (Flaccidity )
อาการอ่อนแรงแบบเป็นจากส่วนปลายมาต้น (Ascending paralysis) อ่อนแรงจากขาค่อยๆลุกลามขึ้นมาแขน
อาการลุกลามเส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) ซึ่งพบได้บ่อย คือ เส้นประสาท สมองคู่ที่ 7 , 9 , 10
ภาวะแพ้ภูมิตัวเอง (Autoimmune disorder) ถูกกระตุ้นจากการอักเสบติดเชื้อ
สาเหตุการเกิดโรค
ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่เชื่อว่าเป็นปฏิกิริยาแพ้ภูมิตัวเองของร่างกาย (Autoimmune disorder) โดยมีปัจจัยชักนําที่สําคัญ
การได้รับวัคซีน
การผ่าตัดและการวางยาสลบ
การติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงมัก
อาการลุกลามเส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) คือ เส้นประสาทคู่ที่ 7,9,10, และ 3 ตามลำดับ
อาการด้านประสาทรับความรู้สึก
การดำเนินโรค
ระยะอาการคงที่ ( Static phase ระยะนี้มัก
จะเป็นระยะเวลาสั้น ๆ 2 – 3 วัน
ระยะฟื้นตัว ( Recovery phase ) มักจะเริ่มจากโรคหยุดก้าวหน้า 2-3 สัปดาห์
ระยะเฉียบพลัน (Acute phase)
การรักษา
Plasmapheresis
Intravenous immunoglobulin ( IVIG )
Corticosteroid
การพยาบาล (Nursing care)
ระบบกล้ามเนื้อ
ระบบการกลืน
การพยาบาลระยะวิกฤต
ภาวะอ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจ จะส่งผลให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลว
การพยาบาลผู้ป่วยใส่เครื่องช่วยหายใจ
ระบบการขับถ่าย
Myasthenia Gravis : MG
เป็นโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกันขอบร่างกาย
พบบ่อยช่วง 20-30 ปี ในเพศหญิง 60-80 ปีในเพศชาย
อาการและอาการแสดง
fluctuating skeletal muscle weakness.
15% มาด้วยอาการกลืนสําลัก เคี้ยวอาหารไม่ได้ หรือพูดเสียงเปลี่ยน
50% มาด้วยเห็นภาพซ้อน หรือหนังตาตก
<5% อ่อนแรงต้นแขน หรือต้นขา
ความดันในกระโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial
pressure)
เป็นการเพิ่มปริมาตรของเนื้อสมอง จำนวนเลือดและน้ำไขสันหลัง
สาเหตุ
เนื้อสมองบวม ทำให้ความดันกระโหลกศีรษะสูง
หลอดเลือดดำและแดงจะถูกกด
การไหลดวียนเลือดในสมองลดลง
เนื้อสมองได้รับอันตราย
อาการและอาการแสดง
สัญญาณชีพเปลี่ยน
Neuro signs change
ระดับความรู้สึกตัวเลวลง
รูม่านตาขยาย แขนขาอ่อนแรง
อาเจียนพุ่ง
ปวดศีรษะ
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด IICO มากขึ้น
ออกซิเจนในเลือดลดลง (hypoxemia) เกิดจากได้รับ O2 ในปริมาณน้อยทางระบายอากาศไม่เพียงพอขณะดูดเสมหะ มีการอุดกั้นทางเดินหายใจโดยตรง
กลไกการช่วยเหลือด้านการหายใจ เช่น การดูด เสมหะ การอุดกั้นทางเดินหายใจจากสายยาง ดูด
คาร์บอนไดออกไซด์สูงมักเกิดได้ขณะหลับ,ได้รับยานอนหลับ หรือมีโรคปอด วิตกกังวลหรือ ปวดรุนแรง
Brain edema
การประเมินผู้ป่วยทางระบบประสาท
ระดับความรู้สึก (level of conscious)
กำลังกล้ามเนื้อของแขนและขา (motor tone and strength)
การตอบสนองรูม่านตา (papillary signs)
การประเมินสัญญาณชีพ (vital signs)
ระดับความรู้สึกตัว Leval of conscious
Alert
Drowsy
Stupor
Semicoma
Coma
Glasgow Coma Score
Best verbal respons (V)
V 4 = พูดคุยได้แต่สับสน (confuse)
V 3 = พูดเป็นคําๆ ผู้ป่วยพูดเป็นประโยคไม่ได้ (inappropriate words)
V 5 = พูดคุยได้ไม่สับสน (oriented)
V 2 = ส่งเสียงไม่เป็นคําพูด (incomprehension words)
V 1 = ไม่ออกเสียงเลย (none)
Eye opening
E 3 ลืมตาเมื่อเรียก (eye opening to speech)
E 2 ลืมตาเมื่อเจ็บ (eye opening to pain)
E 4 ลืมตาได้เอง (spontaneous opening)
E 1 ไม่ลืมตาเลย (none)
Best motor response (M)
M 4 ชักแขนขาหนี (withdraws to pain)
M 3 แขนงอเมื่อเจ็บ (flexion to pain)
M 5 ทราบตําแหน่งที่เจ็บ (localize pain)
M 2 (Extention to pain)
M 6 ทําตามคําสั่งได้ (obey commands)
M 1 (none)
movement of the limbs and
motor power
เกรด 3 กล้ามเนื้อมีกำลังเคลื่อนไหวข้อต้านแรงดึงดูดของโลกได้
เกรด 2 กล้ามเนื้อมีกําลังเคลื่อนไหว ข้อ แต่ไม่สามารถต้านแรงดึงดูดของโลกหรือเคลื่อนไหวได้
เกรด 4 กล้ามเนื้อมีกำลังทำงานต้านแรงผู้ตรวจได้ แต่ไม่เท่าปกติ
เกรด 1 กล้ามเนื้อไม่มีการหดตัว แต่สังเกตเห็นการยกตัวของกล้ามเนื้อได้
เกรด 5 กล้ามเนื้อมีกำลังปกติ
เกรด 0 กล้ามเนื้อไม่มีการหดตัว
การติดเชื้อของระบบประสาท
Bacterial meningitis
ความดันในนํ้าไขสันหลังสูงมากกว่า
180 มม.นํ้า
เม็ดเลือดขาวมากกว่า 1,000 เซลล์/ลบ. มม. ระยะแรกเป็น polymophonenclear cell
น้ำไขสันหลังขุ่น
โปรตีนสูงมากกว่า 50 เซลล์/ลบ.มม
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค
lymphocyte มักไม่เกิน10-100 เซลล์/ลบ.มม
โปรตีนสูงมาก อาจสูงได้ถึง 1-2 กรัม/100 มล.
ความดันสูง
น้ำไขสันหลังสีใสหรือสีเหลืองฟาง เพราะมีโปรตีนสูงมาก
Viral meningitis
ลิมโฟซัยดี 10-500 เซลล์/ลบ.มม.
โปรตีนปกติหรือสูงเล็กน้อย
50-100 มก./ดล.
ความดันปกติหรือสูงเล็กน้อย
นํ้าไขสันหลังใสหรือขุ่น เล็กน้อย
นางสาวศิริวรรณ กลิ่นจัทนร์