Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพ - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพ
อันตรายที่เกิดจากการบริโภคอาหารไม่ปลอดภัย
อาหารไม่ปลอดภัย (Food Insecure)
จุลินทรีย์ก่อโรค
ส ารหรือวัตถุเจือปน
ไม่ถูกสุขลักษณะ
สัตว์และพืชหรือผลผลิตจากสัตว์และพืชที่มีสารเคมีอันตราย
ภาชนะบรรจุ
อันตรายในอาหาร
(Food hazard)
อันตรายทางกายภาพ (physical hazard)
เกิดจากวัสดุแปลกปลอมที่ไม่ได้เป็นส่วนประกอบของอาหารและตามปกติไม่น่าจะอยู่ในอาหาร
อันตรายทางชีวภาพ (Biological hazard)
อันตรายที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตส่วนมากเกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ พยาธิ และไวรัส
อันตรายทางเคมี (chemical hazard)
เกิดจากสารเคมีที่อยู่ในธรรมชาติ และสารเคมี
ที่ใช้ทางการเกษตร รวมถึงสารพิษในธรรมชาติ
โภชนาการกับการออกกำลังกาย
อาหารสำหรับนักกีฬาและผู้ออกกำลังกาย
ควรได้รับน้ำและอาหารอย่างเพียงพอเพื่อสร้างกล้ามเนื้อ
ควรเน้นโปรตีนที่มีคุณภาพและมีประโยชน์
วิตามินและเกลือแร่จะช่วยในการเผาผลาญของร่างกาย
ปริมาณของพลังงานแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ
รูปร่างหรือปริมาณมวลไร้ไขมัน
เพศ
อายุ
ความถี่ในการออกกำลังกาย
ระยะเวลา
สิ่งสำคัญสำหรับผู้ออกกำลังกายและนักกีฬา
วิตามิน (Vitamins)
วิตามินที่ละลายในไขมัน
วิตามิน A D E K
หากมีมากเกินไปจะสะสมอยู่ในเซลล์และตับ ทำให้เกิดโรคหรือความผิดปกติ
วิตามินที่ละลายในน้ำ
วิตามิน B C
เกลือแร่ (Mineral)
เหล็ก
แคลเซียม
โซเดียมคลอไรด์
โพแทสเซียม
น้ำ (Water) , อาหาร (Food)
อาหารต้านและบำบัดโรค
อาหารต้านและบำบัดโรคมะเร็ง
ถั่ว
เมล็ดธัญพืช
ปลาน้ำจืด
สาหร่ายทะเล
ผัก
เบอร์รี่
ชาเขียว
เครื่องเทศ
โยเกิร์ต
เห็ด
อาหารต้านและบำบัดโรคหัวใจ
โฮลเกรน
ไวท์แดง
ผักโขม
อัลมอนด์
แซลมอน
อาหารต้านและบำบัดโรคความดันโลหิตสูง
ปัจจัยเช่น อารมณ์ ความเครียดอุณหภูมิ อากาศ
การเล่นกีฬา หรือการพักผ่อน
การลดการกินเกลือโซเดียมในอาหาร
รับประทานผักสดและผลไม้
ธัญพืช
ลดปริมาณไขมันในอาหาร
ลดอาหารรสจัด
อาหารต้านและบำบัดโรคเบาหวาน
เกิดจากปัจจัยทางกรรมพันธุ์ และนิสัยการกิน
ลักษณะอาการของเบาหวานมี 2 ชนิด
เด็กหรือวัยรุ่น
ผู้ใหญ (มักเกิดในวัย 40 ขึ้นไป)
อาหารที่ช่วยต้านเบาหวาน
เมล็ดธัญพืชไม่ขัดสี
ถั่วเปลือกแข็ง
กระเทียมและหัวหอม
สะตอ
ตำลึง
ผักบุ้ง
มะระจีน
ขมิ้นและอบเชย
ใบมะยม
ฟักทอง
ลดปริมาณการบริโภคอาหารที่มีน้ำตาลสูง
อาหารต้านและบำบัดโรคไต
อาหารที่ช่วยลดความเสี่ยงการเป็นโรคไต
กระเทียมสดและหัวหอม
พืชตระกูลกะหล่ำ
แครนเบอร์รี่
แอปเปิล
ปลาสด
น้ำมันมะกอก
ไข่ขาว
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
รสเค็ม
ไขมันจากสัตว์
อาหารที่มีโพแทสเซียมสูง
อาหารที่มีฟอสฟอรัส
อาหารต้านและบำบัดโรคเก๊าท์
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีพิวรีนสูง
อาหารที่มีพิวรีนน้อย
ไข่และผลิตภัณฑ์จากนม
ผักและผลไม้
ธัญพืช
อาหารที่มีพิวรีนปานกลาง
ถั่วลิสง ถั่วลันเตา
หน่อไม้
ปลาหมึก ปู
ผักโขม
เนื้อหมู เนื้อวัว
อาหารที่มีพิวรีนสูง
เครื่องใน
สัตว์ปีก
ปลาไส้ตัน
กะปิ
เห็ด
ไข่ปลา
กุ้ง
ผู้ชายมีโอกาสเป็นโรคเกาต์มากกว่าผู้หญิง
อาหารต้านและบำบัดโรคกระดูกพรุน
เกิดจากการขาดฮอร์โมน ขาดการออกกำลังกาย และขาดแคลเซียม
ควรทานอาหารที่มีแคลเซียมสูงอย่างต่อเนื่อง
การตรวจสอบสุขภาพทางกาย
ความสําคัญของสุขภาพทางกาย หรือ สมรรถภาพทางกาย
(Physical Fitness)
เสริมสร้างให้บุคคลสามารถใช้ชีวิตประจําวันได้
สามารถใช้กล้ามเนื้อทํางานได้หนักและนาน
การออกกําลังกายเป็นประจําสามารถเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายได้ดียิ่งขึ้นและยังป้องกันร่างกายจากโรคภัยต่าง ๆ
องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscle strength)
ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscle endurance)
ความอ่อนตัว (Flexibility)
ความอดทนของระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
(Cardiovascular endurance)
องค์ประกอบของร่างกาย (Body Composition)
ความคล่องแคล่วว่องไว (Agility)
การทรงตัว (Balance)
กําลังของกล้ามเนื้อ (Power)
เวลาปฏิกิริยา (Reaction Time)
ความเร็ว (Speed)
การทํางานประสานกัน (Coordination)
ปัจจัยที่ส่งผลให้การที่ร่างกาย
การออกกําลังกาย
หลีกเลี่ยงมลภาวะที่เป็นพิษ
โภชนาการที่ดี
ความเครียด
การดําเนินชีวิต
โรคที่เกิดจากพันธุกรรม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เป็นพื้นฐานทั่วไป
การตรวจกรุ๊ปเลือด (Blood group)
การตรวจระดับน้ําตาลในเลือด
(Fasting Plasma Glucose)
ความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด และเกล็ดเลือด
(Complete Blood Count)
การตรวจระดับน้ําตาลสะสมในเลือด
(Hb A1c)
การตรวจระดับกรดยูริค (Uric acid)
การตรวจระดับไขมันในเลือด (Lipid Profile)
การตรวจการทํางานของไต (BUN,
Creatinine และ eGFR)
การออกกำลังกาย กีฬา และนันทนาการ
หลักพื้นฐานการออกกำลังกายหลัก F I T T
I – INTENSITY คือ ความหนักในการออกก่าลังกาย
T – TIME คือ ระยะเวลาในการออกก่าลังกาย
F – FREQUENCY คือ ความสม่่าเสมอและความถี่ในการออกก่าลังกาย
T – TYPE คือ รูปแบบของกิจกรรมการออกก่าลังกาย
การออกกำลังกายแบ่งได้ 5 รูปแบบ
การออกกำลังกายแบบต้านทานความเร็วเต็มที่
(Isokinetic Exercise)
การออกกำลังกายแบบไม่ใช้ออกซิเจน
(Anaerobic Exercise)
การออกกำลังกายแบบต้านน้ำหนัก
(Isotonic Exercise)
การออกกำลังกายแบบใช้ออกซิเจนหรือแบบแอโรบิก
(Aerobic Exercise)
การออกกำลังกายแบบเกร็งกล้ามเนื้อโดยไม่เคลื่อนไหวอวัยวะ (Isometric Exercise)
ประเภทของการออกกำลังกาย
การออกกำลังกายแบบ Weight training
การออกกำลังกายแบบ Body weight
หลักการเลือกกิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬา
เพศ
สภาพร่างกายและจิตใจ
วัย
พันธุกรรม
ผลการออกกำลังกายและเล่นกีฬาต่อระบบต่าง ๆ
ระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ
ระบบประสาท
ระบบหายใจ
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบไหลเวียนโลหิต
นันทนาการ (Recreation)
ใช้เวลาส่วนที่เรียกว่ำ “เวลาว่าง (Leisure time)”
กระทำกิจกรรมที่ทำให้เกิดความสุข ความพึงพอใจ แก่ตนเองโดยตรง
แบ่งเป็น 6 ประเภท
กิจกรรมนันทนาการประเภทการเต้นรำ และกิจกรรมเข้าจังหวะ
กิจกรรมนันทนาการประเภทการละคร
กิจกรรมนันทนาการประเภทศิลปหัตถกรรม
กิจกรรมนันทนาการประเภทงานอดิเรก
กิจกรรมนันทนาการประเภทเกม-กีฬา
กิจกรรมนันทนาการประเภทดนตรีและร้องเพลง
กิจกรรมนันทนาการประเภทกลางแจ้ง/นอกเมือง
กิจกรรมนันทนาการทางสังคม
กิจกรรมนันทนาการพิเศษ
กิจกรรมนันทนาการประเภทวรรณกรรม (อ่าน พูด เขียน)
กิจกรรมนันทนาการประเภทการบริการอาสาสมัคร
กิจกรรมนันทนาการประเภทการท่องเที่ยวทัศนศึกษา
กิจกรรมนันทนาการประเภทกลุ่มสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์
กิจกรรมนันทนาการประเภทพัฒนาจิตใจและความสงบสุข
กิจกรรมนันทนาการประเภทพัฒนาสุขภาพและสมรรถภาพ
การจัดโปรแกรมฝึกการออกกำลังกายให้เหมาะสม
หลักการจัดโปรแกรมการฝึกเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
การฝึกจะต้องใช้หลักการปรับเพิ่มความหนัก
(Overload Principle)
การพักผ่อน
การฝึกจะต้องทำเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ
การฝึกจะต้องกระทำอย่างต่อเนื่อง
ฝึกจากน้อยไปมากฝึก จากเบาไปหาหนัก
การบำรุงร่างกายหรือการรับประทานอาหาร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
อุณหภูมิ
ระดับการฝึก
ความเมื่อยล้า
การพักผ่อนระหว่างการฝึก
การเรียงตัวของเส้นใยกล้ามเนื้อ
อายุและเพศ
ปริมาณของสารอาหาร