Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 เเบบเเผนสุขภาพ (Functional health patterns) :<3: - Coggle…
บทที่ 6 เเบบเเผนสุขภาพ (Functional health patterns) :<3:
:<3:องค์ประกอบของเเบบเเผนสุขภาพเเต่ละเเบบเเผน)
1.พฤติกรรมภายใน คือพฤติกรรมที่ไม่ส่ามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าหรือใช้มือทางวิทยาศาสตร์ตรวจสอบได้โดยตรง
กระบวนการทางานทางกาย หรือทางชีวภาพ เช่น ระบบหายใจ ระบบหัวใจเเละหลอดเลือด
กระบวนการคิดความรู้ของบุคคลเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ
เจตคติซึ่งประกอบด้วยความรู้สึกความคิดเห็นค่านิยมของบุคคล
2.พฤติกรรมภายนอก คือการกระทำที่แสดงออกมาให้สังเกตเห็นได้ รับรู้ได้ หรือใช้เครื่องมือ ตรวจสอบได้
พฤติกรรมที่เป็นคำพูด :
การตรวจโดยใช้เครื่องมือทางการแพทย์เช่นการตรวจววัดสัญญาณชีพ การเอกซเรย์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่นการตรวจเลือดการตรวจสิ่งคัดหลังต่าง
• พฤติกรรมภายในเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมภายนอก เช่น พฤติกรรมภายในมีความยินดีและพึงพอใจกับส่ิงที่ปรารถนา ก็จะแสดงออกมาเป็นพฤติกรรม ภายนอกให้สังเกตเห็นได้จาก สีหน้า แววตา กิริยา ท่าทาง ทางร่างกาย
:<3:1.แบบแผนการรับรู้ภาวะสุขภาพและการดูแลสุขภาพ
เเนวทางการประเมินการรับรู้ภาวะสุขภาพเเละการดูเเลสุขภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกายประจำปี
การได้รับภูมิคุ้มกัน
การรับประทานยาเป็นประจำและเหตุผลที่รับประทานยา
การมพีฤตกิรรมเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสขุภาพ เช่น
การดื่มเหล้าการสูบบหุรี่การติดสาร เสพติด
ประวัติการแพ้สารต่างๆเช่นการแพ้ยาอาหารสารเคมีหรือสารอื่นๆรวมทั้งอาการแพ้ และการแก้ไขเมื่อเกิด อาการแพ้
การตรวจร่างกาย
ลักษณะทั่วไปและความพิการเช่นท่าทางการเดินการลุกนั่งการเคลื่อนไหวแขนขาการพดูคุยการแสดงสีหน้า
ความสะอาดของร่างกาย เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย
ความร่วมมือในการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยหรือครอบครัว
สังเกตการปฏิบัติตนขณะเจ็บป่วยของผู้ป่วยหรือการได้รับการดูแล จากครอบครัว
ตัวอย่างคำถามเเบบเเผนการรับรู้ภาวะสุขภาพเเละการดูเเล
ทราบไหมว่าเป็นโรคอะไรทราบวธิกีารดูเเลตนเองหรือไม่ถ้าทราบดูแลตนเองอย่างไร
เมื่อเจ็บป่วยบาดเจ็บผู้ป่วยปฏิบัติอย่างไร
เคยรักษาแบบพื้นบ้านหรือไม่เคยรักษาด้วยวธิกีารใดบ้าง
รับรผู้ลกระทบของภาวะเจ็บป่วยต่อสุขภาพและคณุภาพชีวิตเป็นอย่างไร
เคยดื่มสรุาหรือเครื่องดื่มมึนเมาเป็นประจำหรือไม่หากเคยดื่มหรือยังดื่มมอยู่ให้อธิบายรายละเอียดของ ชนิดจำนวนอะไรเป็นปัจจัยเสริม
เคยสูบบุหรี่ไม่ถ้าเคยให้ซักถามรายละเอียดเกี่ยวกับชนิด จำนวนระยะเวลาที่สูบ
ตัวอย่างข้อมูลเเบบเเผนการรับรู้ภาวะสุขภาพเเละการดูเเลสุขภาพ
ไม่เคยมีใครบอกว่าเป็นโรคอะไรจะหายหรือไม่”
“ไม่อยากรู้กลัวเป็นโรคที่รักษาไม่หาย
เมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อยก็จะไปสถานีอนามัยเเละซื้อยากินเอง
ตอนเด็กเป็นไข้เจ็บคอบ่อย เคยมีอาการปวดข้อร่วมด้วยครั้งเดียว
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ข้อมูลปรนัย (Objective Data)
เมื่อเจ็บป่วยคุณดูแลสขุภาพตนเองอย่างไร
การปฏิบัติตัว เมื่อเจ็บป่วยขณะอยู่โรงพยาบาล: ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ พยาบาลและ บุคลากรในทีมสุขภาพของโรงพยาบาล
พฤติกรรมเสี่ยงงและปัจจัยเสี่ยง
สูบบหุรี่:ผู้ป่วยปฏิเสธการสบูบหุรี่
• ดื่มเครื่องดื่มที่มีเเอกอฮอล์:ผู้ป่วยปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
การแพ้สารต่างๆ
อาหาร/ยา/สารที่แพ้:ผู้ป่วยปฏิเสธการแพ้ยาแพ้อาหารและสารอื่นๆ
ข้อมูลปรนัย (Objective Data)
สภาพร่างกายอารมณ์และจติใจโดยทั่วไป:ผู้ป่วยรู้สึกตัวดีท่าทางออ่นเพลียเป็นคนอารมณ์ดีจิตใจดี ชอบช่วยเหลือผู้อื่น
ความร่วมมือในการรักษา : ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการรักษาดี
การดูแลของผู้ดูแล: ผู้ดูแลเอาใจใส่ยิ้มแย้ม
:<3:2. แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
ประเมินพฤตกิรรมการรับประทานอาหารโดยพิจารณาความสอดคล้อง กับอาหารที่ควรได้รับและน้ำหนักตัว
มีอิทธิพลต่อการได้รับสารอาหาร น้ำ เกลือเเร่ เกิดความเสี่ยงของภาวะทุพโภชนาการ ความอยากอาหารลดลง
ประเมินทำงานของร่างกาย ที่เกี่ยวข้อง ได้เเก่ เคี้ยว การกลืน การย่อย การดูดซึม เเละการเผาผลาญ
การซักประวัติ
แบบแผนเกี่ยวกับบริโภคนิสัยเเละแบบแผนการดำเนินชีวิต (lifestyle)
อุปนิสัยในการรับประทานอาหาร รับประทานเก่งหรือชอบกินจุ กินจิบหรือไม่
ชอบกินอาหารขณะนั่งดูโทรทัศน์ ชอบนั่งๆ นอนๆ โดยไม่ทำกิจกรรมต่างๆ
ลักษณะอาหารหรือขนมที่ชอบอาหารที่รับประทานเป็นประจกอาหารที่ไม่รับประทานหรืออาหารแสลง
ชนิด เวลา และปริมาณการได้รับอาหารในแต่ละวัน
การซักประวัติ(น้ำและอิเล็กโทรไลต์)
ชนิดและปริมาณน้ำที่ดื่มในหนึ่งวัน
โรคหรือ ภาวะที่เสี่ยงต่อการเกดิ ภาวะขาดน้ำ ภาวะน้ำเกิน หรือมีปัญหาความไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลต์ เช่น โรคเบาหวาน โรคไตวาย ตับวาย หัวใจวาย ไข้เลือดออก การออกกาลังกาย
ยาท่ีได้รับซึ่งอาจมีผลต่อความสมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลต์ในร่างกายเช่นยาขับปัสสาวะ Lasix จะทำให้ขับ Ca ออกมาขึ้น
การตรวจร่างกาย
สังเกตพฤตกิรรมการรับประทานอาหารปริมาณและลักษณะอาหารที่รับประทาน
ตรวจสภาพของผิวหนังเเละเยื่อบุว่าซีดหคือไม่โดยสังเกตสีของผิวหนังริมฝีปากเยื่อบุตา
เยื่อบปุากและแผลในช่องปากคอฟันผุเหงือกอักเสบทอนซิลแดงโตหรือไม่
ตรวจดูท่าทางว่า มีอาการาการอ่อนเพลียกล้ามเนื้อแขนขาลีบหรือไม่ ลักษณะผม เล็บ ขาดสารอากหาร
สังเกตอาการต่างๆ ที่เกิดขึ้น จากการมีปัญหาการรับประทานอาหาร เช่น อาการกลืนลำบาก
ตรวจลักษณะท้องตับม้ามก้อนในท้องฟังเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้(Bowelsound)
ประเมิน ภาวะโภชนาการว่า อ้วน ท้วม ปกติ หรือผอม โดยประเมินจากน้ำหนักและส่วนสูง ที่ สมดุลกันหรือประเมินจากดัชนีมวลกาย(BMI)
น้ำเเละอิเล็กโทรไลต์
ผิวหนังตรวจดูความยืดหยุ่น(skinturgor)ความอุ่นความชื้นของผิวหนัง
ตรวจรมิฝีปากเยื่อบุปากและลิ้นว่ามีเเตก เเห้งบ้างไหม
ตรวจ ดูจำนวนและสีขององน้ำปัสสาวะ
ประเมิน, อาการขาดน้ำ(Dehydration) จากการตรวจร่างกาย เช่น มีไข้สูง อ่อนเพลีย ร
ตรวจดูอาการบวม (Edema)
เเนวทางการประเมินเเบบเเผนโภชนาการเเละการเผาผลาญสารอาหาร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจเลือดเพื่อประเมินปัญหาเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการความสมดุลของสารน้ำและเกลือ
แร่ต่างๆ ในร่างกาย
การตรวจอลัลตร้าซาวก็ช่องท้อง(Ultrasound)ประเมินความผิดปกติของอวัยะภายในช่องท้อง และทางเดินอาหาร
ตัวอย่างคำถามเเบบเเผนโภชนาการเเละการเผาผลาญสารอาหาร)
ปกติอาหารที่รบัประทานคือ อะไร(มื้อเช้ากลางเย็น)
น้ำที่ดื่มเป็นประจำมะอะไรบ้าง ปริมาณเท่าใด
ในช่วง1เดือนที่ผ่านมาน้ำหนักตัวเปลี่ยนแปลง(เพิ่ม-ลด)ไหม
เบื่ออาหารไหม
มีปัญหาการกลืน การเคี้ยวหรือถูกจากกัดอาหารไหม
การเป็นแผล หายช้าหรือปกติ
มีผิวแห้งมีรอยโรคบ้างไหม
มีปัญหาปาก เหงือกอักเสบ ฟันปลอม ฟันผุไหม
ตัวอย่างข้อมูลเเบบเเผนโภชนาการเเละการเผาผลาญสารอาหาร.
ชอบกินข้าวเหนียว วันละ3มื้อ ชอบกินอาหารรสจัดโดยเฉพาะส้มตำ
ดื่มน้าประมาณวันละ 6-8 แก้ว/วัน
น้ำประมาณวันละ 6-8 แก้ว/วัน
น้ำหนักชั่งเมื่อ 3 เดือนที่เเล้ว48 กก.
2 เดือนมานี้กินได้มื้อละ5-6คำ เนื่องจากเบื่ออาหารและแน่นท้อง
ปกติชอบดื่มกาแฟวันละ 1 แก้ว
ค่าดัชนมี วลกาย 20 kg/m2
ท่าทางออ่นเพลยีซีด
อุณหภูมิของร่างกาย 38 องศาเซลเซียส
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ข้อมูลอัตนัย(SubjectiveData)
• ตามปกติรับประทานอาหารวันละ : 3มื้อตรงเวลาปริมาณ1ทัพพีต่อครั้ง
• ดื่มน้ำ เครื่องดื่มวันละ : 1,200 ml /วัน
• อาหารท่ีรับประทานเป็นประจา : ข้าว อาหารอีสาน เช่น น้าพริกปลา ผักต่างๆ
• อาหารท่ีไม่รับประทานและเหตุผล : ของหมักดอก
ข้อมูลปรนัย (Objective Data
การได้รับสารอาหาร : ผู้ป่วยรับประทานอาหารเอง ทางปาก
การตรวจร่างกาย : น้ำหนัก 68 กิโลกรัมส่วนสูง 160 เซนติเมตร BMI = 26.56 กก/ มม. อุณหภูมิกายในระหว่าง24ชม.ที่ผ่านมาอยู่ในช่วง :36.8-37.3องศาเซลเซียส
:<3:3. เเบบเเผนการขับถ่าย (Elimination)
เป็นการรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินกระบวนการขับถ่าย ลักษณะ ปริมาณ จานวนครั้งของของเสียทุกประเภทที่ออก จากร่างกายทั้งอุจจาระ ปัสสาวะ น้าและอิเลคโตรไลท์ ปัจจัย ส่งเสริม ปัจจัยเสี่ยงและอุปสรรคต่อการขับถ่าย ตลอดจนการ เปลี่ยนแปลงกระบวนการขับถ่ายอันเนื่องมาจากความเจ็บป่วย และการปรับตัวเพื่อ
เเนวทางการประเมินเเบบเเผนการขับถ่าย
การซักประวัติ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะวันละกี่ครั้ง จำนวนมากน้อยเท่าใดชอบกลุ้นปัสสาวะหรือไม่ ปัสสาวะตอนกลางคืนหรือไม่ จำนวนกี่ครั้ง
ปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะและวิธีเเก้ไขปัญหา เช่น ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะลำบาก กระปริดกระปรอย ปัสสาวะน้อยไม่มีการขับถ่ายปัสสาวะ หรือปัสสาวะบ่อยปัสสาวะมากกลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะมีเลือดออกปัสสาวะขุ่น มีกลิ่นเหม็นมีหนองปน
ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยที่เกี่ยวกับนอปุสรรคต่อแบบแผนการขบัถ่ายปัสสาวะปกติเช่นความสะดวก หรือลาบากในการไปห้องน้ำ
ห้องน้ำสะอาดหรือสกปรก อุปกรณ์การช่วยเหลือ การขับถ่าย ปัสสาวะต่างๆ
ปัญหาในการขับถ่ายยอจุจาระและวิธีการแก้ไขได้แก่มีปัญหาทอ้งผูกแก้ไขโดยการับประทานยา ระบายเป็นประจาท้องเสียควบคุม
การขับถ่ายไม่ได้ อาการเจ็บปวดอุจจาระมีเลือดสดๆปนหรือ ถ่ายดำหรืออจุจาระมีพยาธิ เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
สังเกตสีปริมาณลักษณะปัสสาวะที่ขับออกมาจากผู้ป่วยและปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะมีความผิดปกติหรือไม่
สังเกตการมีกระเพาะปัสสาวะเต็ม(FullBladder)
ตรวจร่างกายทั่วไปท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหาของระบบทางเดินปัสสาวะ เช่นถ้าเป็นนิ่วทางเดินปัสสาวะ อาจจะมีการปวดเอวด้านหลัง
ตรวจดูลักษณะท้อง ตรวจการเคลื่อนไหวของลำไส้ (Bowel sound) ตรวจทวารหนักเพื่อดูแผล ตรวจปริมาณ ความผิดปกติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเเละการตรวจพิเศษ
ตรวจปัสสาวะเพื่อประเมินความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
ตรวจเลือดเพื่อดูระดับของยูเรยีไนโตรเจนและครีเอตินินในเลือดบ่งบอกการทำงานของไต
เอกซเรย์ฃ Ultrasound ดูความผิดปกติของไตท่อไตและการอุดตันทางเดินปัสสาวะ
การตรวจอจุจาระเพื่อประเมินว่าอจุจาระมีเม็ดเลือดแดงเม็ดเลือดขาวพยาธิหรือมีเลือดปนในอุจจาระ
การส่องกล้องทางทวารหนักเพื่อตรวจหาความผิดปกติของลำไล้ใหญ่หรือเพื่อการถ่ายภาพรังสี
ตัวอย่างคำถามเเบบเเผนการขับถ่าย
ถ่ายอจุจาระบ่อยแค่ไหนวันละกี่ครั้งหรือสักดาหล์ะกี่ครั้ง
ลักษณะของอจุจาระปกติเป็นกอ้นหรือเป็นลักษณะสีเป็นอย่างไร
มีปัญหาในการขับถ่ายเช่นท้องผูก ปวดท้องกลั้นอจุจาระได้ไหม
ถ้ามีปัญหาการขับถ่ายแก้ไขได้อย่างไร
ตัวอย่างข้อมูลเเบบเเผนการขับถ่าย
ปกติถ่ายอุจจาระทกุเช้าไม่เคยมีปัญหาท้องผูก
oถ่ายอุจจาระ 2-3วันต่อครั้ง อุจจาระเป็นกอ้นแข็งต้องออกแรงเบ่งมีอาการแน่นอึดอัดท้องเล็กน้อย
ปกติปัสสาวะ4ครั้ง ต่อวัน ไม่มีแสบขัด
ขณะที่ป่วยใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้ปัสสาวะออก800C.C.สีเหลืองใส
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ข้อมูลอตันัย(SubjectiveData)
แบบแผนการขับถ่าย ปัสสาวะก่อนการเจ็บป่วยครั้งนี้
• วิถีทาง : ปัสสาวะเอง
• ความถี่ : กลางวัน 4 คร้ัง กลางคืน3 ครั้ง
• ลักษณะปัสสาวะในแต่ละครั้ง: 250 cc.
• อาการผิดปกติของการขับถ่ายปัสสาวะ เช่น กลั้นปัสสาวะไม่ได้ปัสสาวะไม่สะดุด ครั่ว หรือ เจ็บปวดเวลาปัสสาวะ :เมื่ออยู่บ่ปัสสาวะแสบขัดกลั้นปัสสาวะไม่ค่อยได้
• วิธีแก้ไข : ถ้ารู้สึกกปวดปัสสาวะต้องรีบไปเข้นห้องน้ำทันที
ข้อมูลปรนัย (Objective Data
• จำนวนปัสสาวะใน 24 ชม. : ปัสสาวะประมาณ 900 cc . /วัน
• ลักษณะปัสสาวะ : สีเหลือง ใส
• จำนวนและลักษณะอจุจาระ : -
• จำนวนและลักษณะของอาเจียน :ไม่มีอาเจียน
การตรวจร่างกาย
• การตรวจบริเวณท้อง:ไม่มี bladder full และ impacted faecads
:<3:4. แบบแผนกิจกรรมและการออกกาลังกาย
(Activity and Exercise)
ซักประวัติ
ความสามารถในการปฏิบัติกิจิวัตรประจำวันได้ สามารถทำอะไรได้
แข็งแรงดีสามารถปฏิบัติงานและกิจวัตรต่างๆได้ตามปกติ
ทางานหรือกิจกรรมได้จากสามารถปฏิบัติงานเบาๆ
ดูแลกิจวัตรปนะจำวัน ของตนเองได้กจำกัด
ตรวจร่างกาย
ตรวจวัดสัญญาณชีพจร ประเมินอาการของความดันโลหิตสูง เช่น ปวดศรีษะตาพร่ามัวแขนขาอ่อนแรง
ตรวจอาการขาดออกซิเจน เช่น สังเกตผิวหนัง ริม ฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้าว่ามีอาการเขียวคล้ำหรือไม่
ตัวอย่างข้อมูลแบบแผนกิจกรรมและการออกกาลังกาย
ปกติออกกาลังกายโดยการเดินรอบหมู่บ้านตอนเช้าทุกวันวันละ1ชั่วโมง
เวลาว่างจากการทางานบ้านชอบอ่านหนังสือ
ผู้ป่วยให้ประวัติเป็นโรคความดันโลหติสูง
ขณะอยู่โรงพยาบาลลกุนั่งบนเตียงไดเ้องแต่เวลาเดินต้องมีคนพยุงเนื่องจากขาข้างขวาบวม
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ข้อมูลอัตนัย(SubjectiveData)
ความทนต่อการทำกิจกรรม (กิจกรรมท่ีทำความเหนื่อยเมื่อทำกิจกรรม)
• ก่อนการเจ็บป่วยครั้งน้ี : ทำกิจกรรมต่างๆ เล็กๆน้อยๆ จะรู้สึก เหนื่อยง่าย
• ขณะอยู่ในโรงพยาบาล : ทำกิจกรรมต่างๆไม่ได้ รู้สึกเหนื่อย
ความสามารถในการช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันตามปกติ
•การรับประทานอาหาร:รับประทานอาหารได้เอง
• การอาบน้ำและการแต่งตัว : ทำได้เอง
ข้อมูลปรนัย (Objective Data)
การออกกาลังกายขณะอยู่โรงพยาบาล : ออกกาลังกายบนเตียงโดยกายบริหารทกุเช้า
ความสามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
การรับประทานอาหาร:รับประทานอาหารได้เอง
การทำความสะอาดปากฟัน : ทำความสะอาดได้เอง
การเคลื่อนไหวบนเตียงการเดิน:ลุกนั่งบนเตียงได้เองแต่เวลาเดินต้องมีคนพยุงเนื่องจากปวด ขาท้ัง 2 ข้าง
การตรวจร่างกาย
• ท่าทางการทรงตัวการเดินการเคลื่อนไหวของร่างกายการทำงานประสานกันของ กล้ามเนื้อ: ท่าทางการเดินการทรงตัวไม่ดี
• สัญญาณชีพ : อัตราการเต้นของชพี จร 82 คร้ัง/นาที จังหวะการเต้นของชีพจร สม่ำเสมอ อัตราการหายใจ : 24 คร้ัง/นาที จังหวะ สม่าเสมอ ความดันโลหติ : 138/76 มม. ปรอท ในท่านอน
:<3:5.แบบแผนการพักผ่อนนอนหลับ
(Sleep and Rest)
ซักประวัติ
พฤตกิรรมการนอนประวัติเกี่ยววกับอุปนิสัยการนอน
เป็นคนนอนดึกหรือนอนแต่หัวค่ำชอบหลับเวลากลางวันตื่นเวลากลางคืน ระยะเวลาท่ีนอนหลับวันละกี่ขชั่วโมงงกลางวันกี่ชั่วโมงโมงกลางคืนกี่ชั่วโมง เพียงพอหรือไม่
มีปัญหากลางคืนหรือไม่
พฤติกรรมการผ่อนลายมีอะไรบ้าง
ตรวจร่างกาย
สังเกตหน้าตาว่านอนหลับพักผ่อนเพียงพอหรือไม
ความสดชื่นแจ่มใส ซึม อ่อนเพลีย
ง่วงนอน หาวนอนบ่อย
ใต้ตาเป็นรอยเขียวคล้ำ
นอนหลับเวลากลางวันตื่นเวลากลางคืน
ตัวอย่างข้อมูลแบบแผนการพักผ่อนนอนหลับ
ปกติเข้านอนตั้งเเต่เวลา22.00-06.00น.หลับสนิททั้งคืน ไม่เคยนอนกลางวัน
ขณะเจ็บป่วยนอนกลางคืนวันละ4ชั่วโมงต้องตื่นนอนบ่อยเพราะผู้ป่วยข้างเตียงร้องเสียงดัง
ผู้ป่วยมีท่าทางอ่อนเพลียหน้าตาไม่สดชื่น หาวบ่อย
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ข้อมูลอัตนัย (SubjectiveData)
การนอน
• ตามปกตินอนหลับกลางวัน :วันละ3ชั่วโมง นอนกลางคืน วันละ8ชั่วโมง
•ปัญหาเกี่ยววกับการรนอนหลับบางครั้งรู้สึกนอนไม่หลับ
• วิธีการแก้ไข: พยายามไม่ดูทีวีก่อนนอนนั่งสมาธิก่อนนอน
• ปัญหาเกี่ยวกับการรนอนหลับ: นอนไม่หลับเสียงดัง
• วิธีการแก้ไข : พยายามนอนให้หลับเเละไม่สนใจเสียงรอบข้าง
การพักผ่อนหย่อนใจและงานอดิเรกที่มีปฏิบัติ : ทำอาหารเลี้ยงสัตว์ทำสวนทุกๆวัน
ข้อมูลปรนัย (Objective Data)
อาการแสดงของการนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ (อ่อนเพลีย หน้าตาอิดโรย ขอบตาคลำ หาวนอน
บ่อย หงุดหงิด : ผู้ป่วยมีท่าทางอ่อนเพลียหน้าตาไม่สดชื่นหาว
:<3:6. เเบบเเผนสติปัญญาเเละการรับรู้ (Cognition and Perception)
1.การรับรู้ความรู้สึกและการตอบสนอง ได้แก่ การมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่นการรับรสการรับรู้ทางผิวหนังและการการรับรู้เกี่ยวกับความเจ็บปวด
2 ความสามารถทางสติปัญญา
ความสามารถในการตดัสนิใจการแก้ปัญหาและการสื่อภาษาต่างๆ
รวมทั้งปัจจัยส่งเสริมปัจจัยเสี่ยงและอปุสรรคต่อความสามารถในการตัดสินใจ
การซักประวัติ
ปัญหาเกี่ยวกับการความรู้สึกทางผิวหนัง เช่น อาการ ชา คัน ความเจ็บปวด
การตรวจร่างกาย
ประเมินระดับความรู้สึกตัว เช่น การลืมตา การสื่อภาษา
การเคลื่อนไหวของร่างกายและตรวจดูความผิดปกติของจมูก ตา หู ลิ้น ตรวจประสาทสัมผัสทางผิวหนัง
ตัวอย่างข้อมูลแบบแผนสติปัญญาและการรับรู้
ผู้ป่วยสามารถบอกวัน เวลา สถานท่ี และบุคคลได้
ตอบคำถามได้ตรงประเด็นที่ถาม
สามารถพดูโต้ตอบได้ใช้ภาษาได้ดีอ่านหนังสือออกและเขียนหนังสือได้
ความจำดีจาเรื่องราวที่ผ่านมาได้ดี
การรับรู้ทางการสัมผัสได้ดี
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ข้อมูลอัตนัย (Subjective Data)
หน้าที่ในการรับสัมผัสและการรับรู้
คุณมีความผิดปกติเกี่ยวกับการรับรู้ไม่อย่างไร
• การสัมผัส : ผู้ป่วยรับรู้ถึงการสัมผัสได้ดี
• การมองเห็น :red_cross:ผู้ป่วยมีตา2ข้างมัวความสามารถในการมองเห็นได้ชัดเจน
• การได้ยินิ : หู 2 ข้างได้ยินดี
• การได้กลิ่น : สามารถรับรู้กลิ่นต่างๆได้ดี
• การรับรส : สามารถรับรู้รสชาติต่างๆได้ดี เช่น เปรี้ยว หวาาน เค็ม เผ็ด
• ความเจ็บปวดความไม่สุขสบายของผู้ป่วย(ความเจ็บปวดร้อนหนาวคันระคายเคือง)
: ผู้ป่วยมีอาการปวดขาทั้ง 2 ข้าง
ข้อมูลปรนัย (Objective Data)
การตรวจร่างกาย
• ระดับความรู้สึกตัว การรับรู้วัน เวลา สถานที่ บุคคล:ผู้ป่วยสามารถบอกวันเวลาวันที่
สถานที่ และบุคคลได้
• ลักษณะการโต้ตอบ/การใบ้ภาษา/การอ่าน การพูด : ผู้ป่วยสามารถพูดโต้ตอบได้ใช้ภาษาได้ดี อ่านหนังสือออกและเขียนหนังสือไดีดี
• ความจำ : ผู้ป่วยมีความจำดีและจาเรื่องราวที่ผ่านมาได้ดี
• ลักษณะสีหน้าและการแสดงออกถึงความไม่สุขสบาย : สีหน้าที่แสดงออกถึงความเจ็บปวด
:<3:7.เเบบเเผนการรับรู้ตนเองเเละอัตมโนทัศน์ (Self perception and Self concept)
ตัวอย่างคำถาม
ท่านคิดว่าตนเองเป็นคนนิสัยอย่างไร
รู้สึกอย่างไรต่อสภาพตนเองตอนที่เจ็บป่วย
คิดว่าตัวเองมจีดุเด่นจุดด้อยอะไรบ้าง
คนอื่รมองคุณอย่างไร
พื้นฐานอารมณ์เป็นอย่างไร
ตัวอย่างข้อมูล
ก่อนการเจ็บป่วยครั้งนี้รู้สึกว่าตนเองมีความสำคัญกัครอบครัว สามารถทำงานได้ เองทุกอย่าง
ขณะเจ็บป่วยรู้สึกว่าหน้าตาเศร้าหมอง รู้สึกเหนื่อยง่ายต้องพึ่งพาครอบครัวทำให้ ญาติลำบากเดินทางมาดูแล
ผู้ป่วยมคีวามสนใจขณะซักถามดี มีสบตา พูดด้วยน้กเสียงที่ดี
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ข้อมูลอัตนัย(SubjectiveData))
คุณรู้สึกต่อรูปร่างหน้าตาตนเองอย่างไร
• ก่อนการเจ็บป่วย : รู้สึกว่าหน้าตาตนเองสดใส มีน้ำมีนวล
• ขณะเจ็บป่วย: รู้สึกว่าหน้าตาเศร้าหมองไม่มีชีวิตชีวาผมไม่ได้หวี เหนื่อย อ่อนเพลีย
คุณรู้สึกเกี่ยวกับความสามารถของตนเองอย่างไร
• ก่อนการเจ็บป่วย : ทำงานเอบได้ทุกอย่าง เช่น ให้อาหารปลา ขุดดินปลูกผัก
• ขณะเจ็บป่วย : ทำงานหนักไม่ได้เลยรู้สึกเหนื่อยง่าย
คุณรู้สึกอย่างไรที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นขณะเจ็บป่วย : กลัวญาติลำบากเวลาเดินทางมาดูแล
ข้อมูลปรนัย (Objective Data)
พฤติกรรมแสดงความสนใจในรปูร่างหน้าตาต่อตนเอง: ผู้ป่วยไม่ได้มีพฤติกรรมที่แสดงออกสดงความสนใจในรูปร่างหน้าตา
ลักษณะพฤตกิรรมที่เเสดงออกขณะสนทนา : ผู้ป่วยให้คความสนใจขณะซักถามดีมีการสบตา และพูดด้วยน้ำเสียงท่ีดี
:<3:8.เเบบเเผนบทบาทเเละสัมพันธภาพ (Role and Relationship)
ตัวอย่างคำถาม
คุณอยู่กับครอบครัวมีใครบ้าง
มีปัญหาในครอบครัวไหมครอบครัวจัดการ
ปัญหาอย่างไร
ครอบครัวคิดอย่างไรกับการเจ็บป่วยของคุณ
ในที่ทำงานมีปัญหาไหมมีเพื่อนสนิทไหม
รู้สึกโดดเดี่ยวไหม
ตัวอย่างข้อมูล
สมาชิกในครอบครัวมี 5คนตัวผู้ป่วยเอง สามี ลูกชาย ลูกสะใภ้ และหลาน
มีสัมพนัธภาพที่ดีในครอบครัว
คนในครอบครัวดูเเลเอาใจใสดี
มีความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนบ้านและเพื่อน ร่วมงาน
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ข้อมูลอัตนัย(SubjectiveData)
บทบาทและสัมพันธภาพในครอบครัว
• จำนวนสมาชิกในครอบครัว : 5คน
• ประกอบด้วยใครบ้าง : ตัวผู้ป่วยเอง,สามี,ลูกสะใภ้,หลาน2คน
• บทบาทและความรับผิดชอบต่อครอบครัว : ทำอาหาร เลี้ยงสัตว์ ทำสวน
•ความสัมพันธภายในครอบครัวเป็นอย่างไร:ความสัมพันธในครอบครัวดี
•ใครทำหน้าที่แทนขณะเจ็บป่วย:ลูกสะใภ้และสามี
• ขณะเจ็บป่วยมีใครมาเยี่ยมบ้าง :สามี,ลูกสะใภ้,น้องสาว,หลาน
ข้อมูลปรนัย (Objective Data)
สัมพันธภาพของผู้ให้บริการรอบครอบครัว/เพื่อน/ผู้ร่วมงาน : มีสัมพันธภาพดี
สัมพันธภาพของผู้ใช้บริการบุคลากรในทีมสขุภาพ : มีสัมพันธภาพดี
พฤติกรรมในการดูแลของครอบครัวและผู้ดูแล : คนในครอบครัวดูแลเอาใจใส่ใจ
อุปสรรคของการสื่อสาร : ไม่มีอุปสรรคในการสื่อสาร
:<3:9. เเบบเเผนเพศเเละการเจริญพันธุ์ (Sexuality and Reproduction)
คำถาม
ประวัติการมีประจำเดือนเริ่มมีเมื่ออายุกี่ปีแต่ละครั้งมีกี่วันมีอาการร่วมขณะมี ประจำเดือนหรือไม่
มีบุตรกี่คน
คุมกำเนิดหรือไม่ ใช้วิธีใด
มีปัญหาเพศสัมพันธ์หรือไม่
ตัวอย่างข้อมูล
มีประจำเดือนครั้งแรกอายุ 13 ปี ครั้งละ 3 วัน มาปกติ ไม่มีอาการปวดท้อง
ตรวจเต้านมด้วยตนเอง เดือนละ 1 ครั้ง
คุมกำเนิด โดยกินยาคุมกำเนิด
การดูเเลอวัยวะเพศสืบพันธุ์ภายนอกสะอาดไม่มี กลิ่นอับ
เปลี่ยนผ้าอนามัย ทุก 4ชั่วโมง
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ข้อมูลอัตนัย (SubjectiveData))
มีประจำเดือนครั้งแรก 13ปี ระยะห่างของการมีประจำเดือน 20 วัน
ปริมาณประจำเดือน : 2แผ่น/วัน
อาการผิดปกติขณะมีปนะจำเดือน : ปวดท้อง
อาการผิดปกติหลังหมดประจำเดือน : ไม่มีอาการผิดปกติ
การตรวจเต้านมด้วยตนเอง : 1-2 เดือน/ครั้ง
คุณมีความผิดปกติของอวยัวะเพศหรือไม่อย่างไร : ไม่มีความผิดปกติ
วิธีคุมกำเนิดที่ใช้ : กินยาคุม
ข้อมูลปรนัย (Objective Data)
ตรวจร่างกาย
• ลักษณะทางเพศ ชาย : ลูกกระเดือก หนวด ขนตามร่างกาย
• หญิง : เต้านม สะโพก : มีเต้านม มีสะโพกผาย
• ลักษณะอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก : ไม่มีความผิดปกติสะอาดไม่มีกลิ่นอับชื้น
➢สรุปขอ้มูลท่ีเป็นปัญหา
• ผู้ป่วยไม่มีปัญหาในแบบแผนน้ี
:<3:10.แบบแผนการปรับตัวเเละการเผชิญความเครียด(Coping and Stress tolerance)
ตัวอย่างคำถาม
ในช่วง1ปีที่ผ่านมามีการเปลี่ยนแปลงครั้ง สำคัญในชีวิตไหม
มีเรื่องไม่สบายใจเครียดหรือไม่แก้ไขอย่างไร
เป็นคนอารมณ์ดี ร่าเริง พูดเก่ง
ขณะนี้เครียดเรื่องใกล้สอบ
วิธีผ่อนคลายความเครียดคือฟังเพลง อ่านหนังสือ ทำให้สบายใจขึ้น
มีสีหน้าวิตกังวล ไม่สบายใจ เหม่อ
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ข้อมูลอัตนัย (SubjectiveData)
ตามปกติมีอปุนิสยัและอารมณ์อย่างไร : เป็นคนชอบพดูร่าเริงอารมณ์ดี
เหตกุารณ์ที่ทำให้เกอดการเปลยี่นแปลงที่สำคัญในชีวิตในช่วง1-2ปีท่ีผ่านมา:ผู้ป่วยปฏิเสธ
▪ การแสดงออกเมื่อมีเหตุการณ์ที่ให้ไม่พอใจ และวิธีการเเก้ไข : เงียบ ไม่พูดกับใคร ชอบเก็บไว้คนเดียว
ขณะนี้มีความเครียดไม่สบายใจหรือกงัวลใจในเรื่องใด : คิดถึงหลานที่บ้าน
วิธีปฏิบัติเมื่อมีความเครียดไม่สบายใจหรือกังวลใจ : ดื่มกาแฟรอ้น1-2แก้ว
ผลท่ีได้รับ : สบายใจขึ้น
บุคลที่ให้ความช่วเหลือเมื่อมีความเครียด/ไม่สบายใจ(อดีต/ปัจจุบัน) : สามีคอยใหกำลังใจ
ข้อมูลปรนัย (Objective Data)
ลักษณะพฤตกิรรมการแสดงออกทางสีหน้าท่าทางการแต่งกายท่ีบ่งชี้ถึงความเครียดวิตกกังวลไม่ สบายใจ เช่นสีหน้าหมกมุ่นกระวนกระวายร้องไห้ซึมนอนไม่หลับรับประทานอาหาไม่ได้: ผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวลไม่สบายใจ
➢ สรุปข้อมูลที่เป็นปัญหา
• ผู้ป่วยวิตกกังวลและไม่สบายใจคิดถึงหลานที่บ้าน
:<3:11.เเบบเเผนคุณค่าและความเชื่อ
(Value and Belief)
ตัวอย่างคำถาม
มีจุดมุ่งหมายในชีวิตอย่างไร
มีสิ่งยึดเหนี่ยวทางด้านจิตใจคืออะไร
สิ่งที่มีความหมายต่อผู้รับบริการมากที่สุด คืออะไร
ความเชื่อเกี่ยวกับการเจ็บป่วยครั้งนี้เป็น อย่างไร
ตัวอย่างคำถาม
ความเชื่อทางด้านสุขภาพของแสลง:เชื่อว่าการกินไข่ทำให้เเผลหายช้า
เชื่อว่าการทำบุญุเยอะๆตายไปจะได้ขึ้น สวรรค์
พระพุทธศาสนาเป็นที่พึ่งทางใจ
ต้องการทำตามความเชื่อสวดมนต์ก่อนนอน
และขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้หายจากอาการป่วย
ผู้ป่วยขอนำพระพทุธรปูมาไว้ที่หัวเตียง
ตัวอย่างข้อมูลแบบแผนคุณค่าและความเชื่อ
พระพทุธศาสนาเป็นที่พึ่งทางใจ
ต้องการทาตามความเชื่อ สวดมนต์ก่อนนอนและขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ตัวอย่างการบันทึกข้อมูล การประเมินภาวะสุขภาพตามแบบแผนสุขภาพ
(Functional health patterns)
ข้อมูลอัตนัย(SubjectiveData)
ความเชื่อเกี่ยววกับสุขภาพและความเจ็บป่วย(อาหารแสลง/การปฏิบัติตน)
เช่ือว่าถ้า : รับประทานกาแฟเยอะๆจะทำให้นอนไม่หลับ
ส่ิงที่มีค่าความสำคัญในชีวิต : สามีลูกหลาน
สิ่งที่คุณยึดเป็นที่พึ่งทางใจทั้งในขณะปกติเเละเจ็บป่วยคืออะไร:พระพุทธศาสนา
ขณะอยู่โรงพยาบาลคุณต้องการปฏิบัติความเชื่อหรือไม่:ต้องการทำตามความเชื่อสวด มนต์กอ่นนอนและขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้หายจากอาการป่วย
ข้อมูลปรนัย (Objective Data)
การนพส่ิงท่ีนับถือบูชามาโรงพยาบาล(ห้อยพระใส่เครื่องรางของขลังฯ)
ผู้ป่วยไม่ได้นำสิ่งที่บูชานับถือมาโรงพยาบาลด้วย
การปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาและไสยศาสตร์ ( สวดมนต์,อธษิฐาน, ละหมาด, รดน้ามนต์ ) : สวดมนต์
➢ สรุปข้อมูลที่เป็นปัญหา
ผู้ป่วยไม่มีปัญหาในแบบแผน
:<3:การรวบรวมข้อมูล
การประเมินทางการพยาบาลในผู้ป่วย สามารถทาได้โดยการซักประวัติการสังเกตการ ตรวจร่างกายการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
วิธีการได้มาซึ่งข้อมูล
• ข้อมูลอัตนัย (Subjectivedata)คือการซักประวัติจากผู้รับบริการหรือญาติ
(ในกรณีที่มีผู้รับบริการไม่สามารถใหข้อ้มูลได้หรือใหข้อ้มูลได้ไมค่รอบคลุม)
• ข้อมูลปคนัย(Objectivedata)คือข้อมูลที่ได้จากการสังเกต/การตรวจร่างกายการ ตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ