Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยว กับประสาทสมองและการรับรู้ - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยว
กับประสาทสมองและการรับรู้
ภาวะสมองเสื่อมและโรคอัลไซเมอร์
Dementia and Alzheimer is disease
Definition
ความผิกปกติบกพร่องทางด้านความจำ ความคิดและความสามารถของสมอง ซึ่งรุนแรงจนรบกวนการดำเนินชีวิตผู้ป่วย
การวินิจฉัย
-พูดไม่ถูก
-ทำไม่เป็น
-ไม่รู้จัก ไม่รู้เรื่อง
-ความบกพร่องในเรื่องการบริหารจัดการ
สาเหตุ
1.Degenenrative ความเสื่อม
2.Vascular dementia ภาวะสมองเสื่อมหลอดเลือด
3.Infection การติดเชื้อ
4.Trauma การบาดเจ็บ
5.Neoplasm เนื้องอก
6.Vitamin deficiency การขาดวิตามิน
7.Endocrine/Metabolic ต่อมไร้ท่อ/เมตาบอลิซึม
8.Normal pressure hydrocephalus ความดันปกติ
9.Toxins สารพิษ
10.Vasculitis หลอfเลือดอักเสบ
ประเภทของสมองเสื่อม
โรคสมองเสื่อมอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ บางโรครักษาได้ บางโรครักษาไม่ได้ แต่ถ้าตรวจพบได้เร็วจะสามารถชะลออัตราการเสื่อมของสมองได้
สมองเสื่อมเกิดจากการเสื่อมของเซลล์สมอง เช่น โรคอัลไซเมอร์ เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบบ่อยที่สุด ปัจจุบันรักษาให้หายไม่ได้
สมองเสื่อมจากโรคหลอดเลือดในสมอง Vascular dementia
พบได้บ่อยเป็นอันดับที่สอง
สามารถรักษาให้ดีขึ้นและป้องกันได้
เกิดขึ้นหลังจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้สมองส่วนนั้น
สาเหตุ
โรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
ภาวะไขมันในเลือดสูง
การสูบบุหรี่
โรคอัลไซเมอร์ Alzheimer disease
โรคสมองเสื่อมที่เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ
เกิดจากการตายของเซลล์ประสาท
ไม่มีการสร้างเซลล์ใหม่ขึ้นมาทดแทน
ตรวจภาพสมองจะพบเนื้อสมองเหี่ยวทำให้การทำงานของสมองค่อยๆ เสื่อมลงไป
พบในช่วงอายุ 50 ปี ขึ้นไป
มีปัญหาการใช้ภาษา การทำงาน และอาการทางระบบประสาทที่ ควบคุมการเคลื่อนไหว
อาการ
1.ความเปลี่ยนแปลงด้านความจำ นึกคำพูดได้ช้าลงสับสนเรื่องวัน เวลา สถานที่ หรือจำบุคคลที่เคยรู้จักหรือคุ้นเคยไม่ได้
2.ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เช่น อารมณ์ แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว หวาดระแวง ซึมเศร้า เฉยเมย หรือบางรายอาจมีการเห็นภาพหลอน
3.ความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น ไม่สามารถเดินทางไปในสถานที่คุ้นเคย หรือไม่สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ ได้ ทั้งที่ปกติใช้อยู่เป็นประจำ
การรักษา
การใช้ยากล่อมประสาทเป็นประจำ
เกิดจากเนื้องอกในสมองความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
การขาดสารอาหารโดยเฉพาะวิตามินบี
อุบัติเหตุที่ศีรษะ
วินิจฉัยแยกโรค
1.ภาวะหลงลืมตามอายุ
2.ภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน
3.โรคซึมเศร้า
การดูแล
คือ การให้ผู้ป่วยคงความสามารถไว้ให้นานที่สุด (เสื่อมลงช้าที่สุด) ประกอบด้วย
ประกอบด้วย
ความจำ
ความสามารถสมอง
กิจวัตรประจำวัน
กระตุ้นฟื้นฟู 6 Domains
กิจวัตรประจำวัน
เฝ้าระวังเรื่องการหกล้ม
Pakinson disease
เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองและระบบประสาทที่พบได้บ่อยเป็นอันดับที่ 2 รองจากโรคอัลไซเมอร์
โรคพาร์กินสันเป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมของสมอง
เซลล์สมองบริเวณส่วนลึกเบซอลแกงเกลียและก้านสมองมิดเบรนในส่วนสับสแตนเชียไนกรามีความผิดปกติอย่างช้าๆ
สารสื่อประสาทที่ชื่อว่าโดพามีนซึ่งช่วยควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย
อาการ
1.อาการสั่นในขณะช่วงพัก (Resting tremor)ส่วน
ใหญ่จะเกิดอาการสั่นขึ้นที่นิ้วมือก่อน
2.อาการที่ร่างกายมีสภาพแข็งเกร็ง(Rigidity) ของกล้ามเนื้อแขนขาและลำตัว
3.อาการเคลื่อนไหวร่างกายช้าลง (Bradykinesia)
อาการของการทรงตัวขาดสมดุล หรือ สูญเสียการทรงตัว (Postura linstability) ขณะที่ยืนช่วงลำตัวของผู้ป่วยจะเอนไปด้านหน้า
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยกายภาพบำบัด
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก (Deep brain
stimulation
การผ่าตัดฝังขั้วไฟฟ้าแล้วปล่อย ไฟฟ้า
เข้าไปกระตุ้นสมอง
-การผ่าตัดสมองเพื่อปลูกถ่ายเนื้อเยื่อชนิดที่ผลิต
สารโดพามีนได้ (Neurotransplantation)
การดูแล
กิจวัตรประจำวัน
อุบัติเหตุ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในแต่ละระยะของโรค
ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
เป็นโรคที่มีการทำลายปลอกหุ้มเส้นประสาทในระบบประสาทส่วนกลางดังนั้นรอยโรคจะอยู่ที่ white matter ในระบบประสาทส่วนกลาง คือ เส้นประสาทตา (optic nerve), สมองใหญ่(cerebrum), สมองน้อย(cerebellum),ก้านสมอง (brainstem) และไขสันหลัง (spinal cord)
อาการ
Relapsing remitting: อาการ
ทางระบบประสาทที่เป็นเร็ว แล้วไม่กี่วันก็มีอาการดีขึ้นใกล้เคียงปกติ แล้วกลับเป็นซ้ำ
Progressive: อาการทางระบบประสาทค่อยเป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ ช้า ๆ ใช้เวลานานเป็นสัปดาห์
สาเหตุ
ขาดสารอาหาร (วิตามิน)
พิษของยา สารพิษ
โรคติดเชื้อ
เนื้องอกกดทับ
ภาวะถูกบีบรัดหรือการได้รับบาดเจ็บของเสันประสาท
กลุ่มเสี่ยง
อายุ 30 ปีขึ้นไป
ผู้ป่วยเบาหวาน
ผู้ที่ทำงานพักผ่อนน้อย
ดื่มสุรา ดูดบุหรี่
ขาดวิตามิน บี 1,6,12
การรักษา
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ป้องกันการขาดวิตามิน
ลดการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์
ออกกำลังกาย
ควบคุมน้ำหนัก
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
รับประทานและชนิดฉีดชนิดทา และนวด
การผ่าตัด
การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า
ทำกายภาพบำบัดเสริมความ
แข็งแรงของกล้ามเนื้อ
Guillain – Barre syndrome ; GBS
ภาวะแพ้ภูมิตัวเอง
ถูกกระตุ้นจากการอักเสบติดเชื้อ
มีอัมพาตของเซลล์ประสาทการเคลื่อนไหวทำให้มีอาการอ่อนแรงแบบปวกเปียก
อาการอ่อนแรงแบบเป็นจากส่วนปลายมาต้น
อ่อนแรงจากขาค่อยๆ ลุกลามขึ้นมาแขร่น
ใบหน้า ลำตัว มักมีอาการชาร่วมด้วย
สาเหตุการเกิดโรค
การติดเชื้อ
การได้รับวัคซีน
การผ่าตัดและการวางยาสลบ
โรคนอกระบบประสาท
อาการและอาการแสดง
อาการด้านประสาทรับความรู้สึก
อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงมัก
อาการลุกลามเส้นประสาทสมอง
(Cranial nerve) ซึ่งพบได้บ่อย คือ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 , 9 ,10 และ 3
ไมแอสทีเนียกราวิส
(Myasthenia Gravis : MG)
เป็นโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย
พบบ่อยสุดที่ช่วงอายุ 20-30 ปี ในเพศหญิง,
60-80 ปีในเพศชาย
อาการ
fluctuating skeletal muscle weakness.
50% มาด้วยเห็นภาพซ้อน หรือหนังตา
ตก
15% มาด้วยอาการกลืนสำลัก เคี้ยวอาหาร
ไม่ได้ หรือพูดเสียงเปลี่ยน
การรักษา
ยา Mestinon
Thymectomy
การพยาบาล
การบริหารยา Mestinon