Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จริยธรรมกับการคัดลอก 22 เมษายน 2565 รศ.ดร.ทรงพันธ์ เจิมประยงค์ - Coggle…
จริยธรรมกับการคัดลอก 22 เมษายน 2565 รศ.ดร.ทรงพันธ์ เจิมประยงค์
1)การลักลอก การคัดลอก จริยธรรม ไม่มีบทลงโทษที่ชัดเจน
ประเด็นทางจริยธรรม ไม่มีการเขียนเป็นบทกฎที่ชัดเจน ต้องมีการร้องเรียน (ต้องมีกรอบในการร้องเรียน) ไม่มีบทลงโทษชัดเจน
ความรับผิดชอบ
ผู้แต่งแต่ละคน ทำอะไรบ้าง
ความซื่อสัตย์
การ Originality การทำด้วยตนเอง
ความมีเหตุผล
ความเป็นวิชาการ มีผล
ความอุตสาหะ
ความยุติธรรม
ความเมตตากรุณา
การลดเมิดสิทธิของผู้สร้างสรรค์ทางความคิด
ไม่ว่าจะอย่างไรความคิดเป็นของเรา
ใครได้ผลกระทบอะไรบ้าง การเอาใจเขามาใส่ใจเรา
2)มีคอนซีเคว้น การละเมิดลิขสิทธิ์ มีบทลงโทษชัดเจน
ประเด็นทางกฏหมาย
การทำซ้ำ
ถ้าเป็นกระดาษ ไปถ่ายเอกสาร
แต่หากเป็น Digital เราอาจจะไม่รู้ตัวเช่นการทำ Email
การละเมิดสิทธิของเจ้าของผลงานอันมีลิขสิทธิ์
เราเขียน สามารถถ่ายโอนได้
เราขาย
เจ้าของเป็นของนายจ้าง
วิธีการป้องกันอย่างดีที่สุดอย่างไรได้บ้าง
อ้างอิง ตอบโจทย์ของการลักลอก สิทธิ์ของผู้สร้างสรรค์เท่านั้น
หากเป็นงานเขียนในการ มีความละเอียดอ่อน ต้องอ้างอิง และได้รับการอนุญาตจากสำนักพิมพ์ก่อน เช่น สำนักพิมพ์จุฬาฯ
รูปแบบ
การถอดความ
การคัดลอก (ทำให้คนอ่านจะอ่านไม่เข้าใจ)
การสรุปความ สรุปประเด็น 1 ประเด็นมาเป็น 1 ย่อหน้า
การอ้างอิง ชื่อผู้แต่งที่ถูกต้องและเหมาะสม
การเขียนคู่มือบรรณานุกรม มัน Concern มีประโยชน์ ทำให้ผู้อื่นสามารถไปตามอ่านต่อได้ เข้าใจว่าเป็นเรื่องอะไร และตรวจสอบได้ว่าข้อมูลมันถูกต้องหรือไม่ การเขียนบรรณานุกรมเป็นการสื่อสารที่ถูกต้อง
5 คำ
เลือกเรื่องที่เกี่ยวข้องเท่านั้น (ใส่มาทำไม จริงๆได้อ่านมาหรือเปล่า)
เขียนให้ถูกต้อง
สม่ำเสมอ สามารถคอนซิสเทน APA ก็ APD
ชัดเจน
ครบถ้วนยิ่งละเอียดยิ่งดี
เขียนแบบไหนไม่ชัดเจน
ใครพูดอะไร ต้นฉบับพูดว่าอะไร อันไหนเป็นความคิดของเรา
ต้องแยกออกมาให้ชัดเจน
ความรู้ทั่วไป ไม่ต้องอ้างถึงก็ได้
พระอาทิตย์ขึ้นทางตะวันออก เขียนได้แต่ไม่ต้องอ้างอิง
แต่ไม่ใช่ทุกอย่างเป็นความรู้ทั่วไป ในบางศาสตร์อาจจะทั่วไป
การตรวจจับความเหมือน Turn it in การบอกได้ว่าอาจจะมีการละเมิดลิขสิทธิ์ แต่ไม่สามารถบอกได้ว่ามันมีความเป็น Original
ความเหมือนและต่าง
ผู้สร้างสรรค์ (ผู้แต่ง)
มีส่วนร่วมแนวคิด ออกแบบ วิเคราะห์
ส่วนร่วมร่าง ปรับแก้ first draf
ผู้ร่าง
ตกลงรับผิด รับชอบ
เจ้าของลิขสิทธิ์
ผู้สร้างสรรค์ ผู้ร่วม
พนักงาน ลูกจ้าง
ผู้ดัดแปลง
ผู้รวบรวม
ผู้ออกแบบ (ได้ในเชิงศิลปกรรม)
ควรมีการตกลงก่อนให้ดี ถี่ถ้วน
คนที่รู้ดีเรื่องลิขสิทธิ์ คือสำนักพิมพ์
การอ้างอิง
ต้องเป็นงานที่มีความเกี่ยวข้องจริงๆ ในบริบทที่ต้องคล้ายกันด้วย
คัดลอก
ตัดแปะ
เอา Text มาแล้วดัดแปลงเล็กน้อย
ควบรวม
อ่านจากหลายแหล่ง สุดท้ายเอามารวมเป็นของเรา แต่เราก็ต้องให้เครดิตต้องอ้างอิง
การนั่งเทียนเขียน
สร้างบรรณานุกรมเท็จ
จงใจเขียนงานที่ไม่เกี่ยวข้อง ให้ตรง
การสวมคำพูด
การเขียนจากต้นฉบับ ถูกเขียนตีความเพิ่มด้วยความคิดของตนเอง
เขียนบนกันไปกันมา ทำให้ไม่ชัดเจนว่าเป็นงานเขียนของใครกันแน่
การหมุนรอบตัวเอง
การอ้างอิงผลงานตัวเอง
การกลายพันธ์
การนำผลงานตัวเองมาเผยแพร่ซ้ำ และไม่แจ้งให้คนอื่นทราบว่ามีการเผยแพร่ในที่อื่นแล้ว
การรับไม้ต่อ
การอ้างอิงในโดยไม่มีเหตุจำเป็น เช่น การอ้างอิง การอ้างถึงใน Cite in xxxxxx,2017
ยกเว้นการหาต้นฉบับไม่ได้
การไร้ตัวตน
อ่านแล้วยังไม่มีความเป็นตัวตนของผู้เขียน
การนำทางผิด
อาจารย์ สำนักพิมพ์ ต่างๆ คาดหวัง Original เท่านั้น
วิธีป้องกัน ลิขสิทธิ์
กลไก ลิขสิทธิ์คุ้มครองแค่ช่วงเวลาหนึ่ง ไม่ได้ตลอดไป 50 หลังจากผู้แต่งเสียชีวิต
หากไม่ทราบว่ามีผู้แต่ ก็ 50 ปี
เขียนเสร็จ แต่ไม่ได้เผยแพร่
ลิขสิทธิ์ กฏหมาย คำพิพากษา ไม่ต้องขออนุญาต รวมเล่มขายได้เลย
ได้รับข้อยกเว้นบางประเภท
เข้าข่าย วิจัยศึกษา (ไม่แสวงหาผลกำไร) เพื่อประโยชน์ส่วนตน ติชมวิจารณ์แนะนำ อ้างอิง Book Review ได้ การทำ Boardcasting งานราชการศึกษา งานใช้ในการสอนเพื่อแสวงหาผลกำไร ไม่นำไม่ใช้เป็นบทเรียนแต่ละทีมารวมกันเพื่อทำเป็นหนังสือ ใช้ถามตอบในการสอบ ห้องสมุด ทำซ้ำและทำให้แก่คนอื่นยืม สำเนาดิจิทัล ทำซ้ำในการการค้นคว้า คำว่าตามสมควรต้องใช้การพิจารณา (ดูจากการใช้งานที่เป็นธรรม)
การละเมิดลิขสิทธิ
4 Factor ศาลจะพิจารณาว่าเป็นธรรมหรือเปล่า
วิธีการใช้ ใช้อย่างไร การสอน ประโยชน์ตนเอง ไม่แสวงหาผลกำไร
ดูลักษณะของงาน งานที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์สูง หรืองานที่มีลักษณะตีพิมพ์เผยแพร่ไปแล้ว ต้องได้รบความคุ้มครองมาก เป็นการถ่วงน้ำหนัก รูปอะไรมีความคิดสร้างสรรค์แค่ไหน ดูตัวเนื้องานเป็นหลัก
ดูในเชิงของปริมาณ มากน้อยแค่ไหน มากเกินไปไม่ได้ น้อยแต่สำคัญก็ไม่ได้
ผลกระทบทางตลาดหรือมูลค่าของงานอันมีลิขสิทธิ์ Copy หนังสือแล้วเอาไปไว้บนอินเทอร์เน็ต อ่านหนังสือเสียงแล้วเอาไปวางบนอินเทอร์เน็ต
การละเมิดลิขสิทธิ์
ไปดูในคู่มือจากกรมทรัพสินทางปัญญา