Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้
การติดเชื้อของระบบประสาท
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Viral meningitis
Bacterial meningitis
จากเชื้อวัณโรค
Crytococcal meningitis
สมองอักเสบ
พิษสุนัขบ้า
อาการ
มีอาการกลัวน้ำ
ไม่สามารถกลืนน้ำลายได้
กลืนอาหารลำบาก
กล้ามเนื้อมีอาการเกร็งตามใบหน้าและลำคอ
เหงื่อและน้ำลายหลั่งมากกว่าปกติ
พูดไม่ค่อยชัด
Japanese virus B encephalitis
น้ำไขสันหลังใส
ความดันปกติ หรือสูง
lymphocyte 10-500 เซลล์/ลบ.มม
โพลีโมฟอร์นิวเคลียสเซลล์สูงระหว่าง50-100 มก./100 มล
โปรตีนปกติหรือเพิ่มเล็กน้อย น้ำตาลปกติ
ฝีในสมอง
สาเหตุ
หูชั้นกลางอักเสบ
Sinusหรือmastoid อักเสบ
ฟันผุ
การติดเชื้อที่ปอดและหัวใจ
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
อาการ
อาเจียน
คอแข็งเกร็ง
การมองเห็นเปลี่ยนแปลงไป
ความรู้สึกตัวลดลง
มีปัญหาในการพูด พูดไม่ชัด
การรักษา
การผ่าตัดเพื่อเอาฝีออก
การให้ยาต้านเชื้อที่ติด
บาดทะยัก
พยาธิสภาพ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Clostidium tetani
ผลิต exotoxin
พิษต่อเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ
ทำให้มีการหดเกร็งตัวอยู่ตลอดเวลา
กล้ามเนื้อขากรรไกรจะเกร็ง ทำให้อ้าปากไม่ได้
ชัก
การช่วยเหลือ
ไม่ง้าง
ไม่พยายามง้างแขนขาที่กำลังเกร็งหรือกระตุก
จะทำให้ผู้ป่วยบาดเจ็บเพิ่มมากขึ้นได้
ไม่ถ่าง
ไม่พยายามถ่างแขนขาหรืออ้าปากผู้ป่วยที่กำลังชัก
ไม่งัด
ไม่งัดปากเพื่อจะใส่วัตถุใดลงไป
เพราะอาจจะทำให้ฟันหลุดหรือเศษวัสดุ
หลุดลงทางเดินหายใจเป็นเหตุให้เสียชีวิตได้
ไม่กด
ไม่กดท้องหรือกดหน้าอกเพื่อหยุดชัก
ผู้ป่วยได้รับอันตรายจากแรงกด
ความดันในกระโหลกศีรษะสูง
พยาธิสภาพ
เนื้อสมองบวม
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
หลอดเลือดดำและแดงจะถูกกด
การไหลเวียนเลือดในสมองน้อยลง
เซลล์สมองขาดเลือดและเซลล์สมองตาย
บวมรอบ ๆ Necrosis tissue
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
1 more item...
ปัจจัยส่งเสริม
คาร์บอนไดออกไซด์สูง
ออกซิเจนในเลือดลดลง
ยาขยายหลอดเลือด
เพิ่มการไหลเวียนเลือด สู่สมอง
เพิ่มความดันในสมอง
ท่านอน ท่าศีรษะต่ำ
เลือดไหลกลับสู่หัวใจไม่สะดวก
ปริมาตรของเลือดในสมองเพิ่มขึ้น
การเกร็งกล้ามเนื้อ อาการสั่น การจาม การไอ
เพิ่มความดันโลหิต
ทำให้ความดันในสมองเพิ่ม
ภาวะเครียดจากอารมณ์หรือความเจ็บปวด
กระตุ้นการทำงานของซิม
ความดันโลหิตสูงขึ้น
มีไข้สูง
ใช้O2มากแย่งO2ที่ไปเลี้ยงสมอง
อาการชัก
หยุดหายใจO2ไม่ไปเลี้ยงสมอง
Cavity of Brain
Ventricle
Vascular supply
Spinal column
Skull
Blood brain barrier
Meninges
Cerebrospinal Fluid
การประเมินผู้ป่วยทางระบบประสาท
level of conscious
Alert
Drowsy
Stupor
Semicoma
Coma
papillary signs
ค่าปกติ2-3มม
หดเมื่อเจอแสงแดด >2-3มม
ขยายในที่มืด<2-3มม
motor tone and strength
vital signs
Temperature
Pulse
Respiratory
Blood Pressure
Pain
Stroke/CVA
Ischemic Stroke
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ
ความยืดหยุ่นเส้นเลือดเปลี่ยนไป
ความดันโลหิตสูง
เกิดความเสื่อมของหลอดเลือด
ผนังหลอดเลือดจะหนาและแข็ง
โรคเบาหวาน
หลอดเลือดแดงแข็งตัว
โรคหัวใจและหลอดเลือด
การสูบบุหรี่ การดื่มสุราการรับประทานยาคุมกำเนิด ความอ้วน
Hemorrhagic Stroke
Brain tumor
เนื้อที่เกิดจากการเติบโตผิดปกติของเซลล์ในสมอง
รบกวนระบบประสาทและการทำงานของสมอง
Benign Brain Tumors
มีการเจริญเติบโตช้า ไม่ใช่เซลล์มะเร็ง
สามารถรักษาให้หายได้ และมีโอกาสน้อยที่ผู้ป่วยจะกลับมาเป็นอีกหลังการรักษา
Malignant Brain Tumors
เซลล์มะเร็ง
เติบโตเรื่อย ๆควบคุมไม่ได้
มีโอกาสที่จะกลับมาเป็นได้อีก
สาเหตุ
อายุ
รังสีอันตราย
ประวัติบุคคลในครอบครัว
ภาวะแทรกซ้อน
มีเลือดออกบริเวณเนื้องอกในสมอง
เกิดการอุดกั้นของน้ำไขสันหลัง
อาจเกิดภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ
อาการชัก
สมองเคลื่อนไปForamen magnum
Cerebrospinal fluid
Obstructive hydrocephalus
มี lesion ที่ปิดกั้นทางเดินของ CSF pathway
การรักษา
External CSF diversion
Ventriculostomy
Spinal drain
Lumbar puncture
Internal CSF diversion
VA shunt ต่อจาก ventricle เข้าสู่ facial vein เหนือ atrium
VP shunt ต่อจาก ventricle ลงสู่ intra peritoneal space