Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยว กับประสาทสมองและการรับรู้ - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยว
กับประสาทสมองและการรับรู้
ความเสื่อมของระบบประสาท
ภาวะสมองเสื่อม (Dementia)
อัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease)
พาร์กคินสัน (Pakinson’s disease)
ภาวะสมองเสื่อมและโรคอัลไซเมอร์
Dementia and Alzheimer’s disease
Cognitive impairment
Memory
ความจำ
Judgment
การตัดสินใจ
Imagining
จินตนาการ
Thinking
ความคิด
การวินิจฉัย
Cognitive impairment และ มีความบกพร่อง
อย่างน้อยอีก 1 อย่าง
พูดไม่ถูก ( aphasia)
ทำไม่เป็น ( apraxia)
ไม่รู้จัก ไม่รู้เรื่อง (agnosia)
ความบกพร่องในเรื่องการบริหารจัดการ
(disturbance in executive functioning)
สาเหตุ
Degenerative change
Vascular dementia
Infections
Trauma
Neoplasm
Vitamin deficiency
Endocrine/Metabolic
Normal pressure
hydrocephalus
Toxins
ประเภทของสมองเสื่อม
โรคสมองเสื่อมอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ บาง
โรครักษาได้ บางโรครักษาไม่ได้
สมองเสื่อมเกิดจากการเสื่อมของเซลส์สมอง
(Degenerative dementia)
โรคอัลไซ
เมอร์ (Alzheimer's Disease)
สมองเสื่อมจากโรคหลอดเลือด
ในสมอง (Vascular dementia)
พบได้บ่อยเป็นอันดับที่สอง สามารถรักษาให้ดี
ขึ้นและป้องกันได้ อาการสมองเสื่อมจะเกิดขึ้น หลังจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้สมองส่วนนั้น
การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
คือ การให้ผู้ป่วยคงความสามารถ
ไว้ให้นานที่สุด (เสื่อมลงช้าที่สุด)
ความจำ
ความสามารถสมอง
กิจวัตรประจำวัน
กระตุ้นฟื้นฟู 6 Domains
กิจวัตรประจำวัน
เฝ้าระวังเรื่องการหกล้ม
โรคอัลไซเมอร์
หมายถึงโรคสมองเสื่อมที่เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ เกิด
จากการตายของเซลล์ประสาท โดยไม่มีการสร้างเซลล์
ใหม่ขึ้นมาทดแทน เมื่อตรวจภาพสมองจะพบเนื้อสมอง
อาการทั่วไปที่มักจะพบ
ในผู้ป่วยอัลไซเมอร์
ความเปลี่ยนแปลงด้านความจำ นึกคำพูดได้ช้าลง
สับสนเรื่องวัน เวลา สถานที่ หรือจำบุคคลที่เคยรู้จัก
หรือคุ้นเคยไม่ได้
ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม เช่น อารมณ์
แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว หวาดระแวง ซึมเศร้า
เฉยเมย หรือบางรายอาจมีการเห็นภาพหลอน
ความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น ไม่
สามารถเดินทางไปในสถานที่คุ้นเคย หรือไม่สามารถ
ใช้อุปกรณ์ต่างๆ ได้ ทั้งที่ปกติใช้อยู่เป็นประจำ
สมองเสื่อมที่สามารถรักษา
ให้หายได้
โรคสมองเสื่อมที่เกิดจากเนื้องอกในสมอง
ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ โรคติดเชื้อใน
สมองบางชนิด การขาดสารอาหารโดยเฉพาะวิตามินบี อุบัติเหตุที่ศีรษะ หรือการได้รับยาบาง
อย่าง
การใช้ยากล่อมประสาทเป็นประจำ
เป็นต้น
การวินิจฉัยแยกโรคจากภาวะอื่น
ภาวะหลงลืมตามอายุ
ภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน
โรคซึมเศร้า
Pakinson disease
เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองและ
ระบบประสาทที่พบได้บ่อยเป็นอันดับที่ 2 รอง
จากโรคอัลไซเมอร์
เกิดอะไรขึ้นในสมองของผู้ป่วย
โรคพาร์กินสัน
โรคพาร์กินสันเป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อม
ของสมอง เนื่องจากเซลล์สมองบริเวณส่วนลึก เบซอลแกงเกลียและก้านสมองมิดเบรนใน
ส่วนสับสแตนเชียไนกรามีความผิดปกติอย่างช้า ๆ ซึ่งเซลล์เหล่านี้มีส่วนในการสร้างสารสื่อประสาทที่ชื่อว่าโดพามีนซึ่งช่วยควบคุมการเนื่อง ผู้ป่วยโรคพาร์กินสันจึงมีปัญหาเรื่องการ
เคลื่อนไหวผิดปกติซึ่งเป็นอาการที่สำคัญของโรค
อาการของโรคพาร์กินสัน
1.อาการสั่นในขณะช่วงพัก (Resting tremor) ส่วน
ใหญ่จะเกิดอาการสั่นขึ้นที่นิ้วมือก่อน (มีอาการสั่นของ นิ้วมือในลักษณะที่เรียกว่า “Pill-rolling”) อาการสั่น
ของโรคนี้จะมีลักษณะเฉพาะคือ จะมีอาการสั่นมาก
เวลาที่อยู่นิ่ง ๆ
2.อาการที่ร่างกายมีสภาพแข็งเกร็ง (Rigidity) ของกล้ามเนื้อแขนขาและลำตัว เมื่อผู้อื่นมาจับแขนหรือขาของผู้ป่วยโยกเข้าออกหรือขึ้นลงตามข้อมือหรือข้อศอกจะรู้สึกเหมือนมีแรงต้าน
หรือสะดุดเป็นจังหวะ ๆ คล้ายการเคลื่อนของฟันเฟือง (Cogwheel
rigidity) เกิดขึ้น
3.อาการเคลื่อนไหวร่างกายช้าลง (Bradykinesia)
การเคลื่อนไหวของใบหน้าลดลง ผู้ป่วยจะมีใบหน้าแบบเฉยเมยไม่มี อารมณ์ ไม่ยิ้มหัวเราะ เหมือนคนใส่หน้ากาก(mask face)
มีอาการพูดเสียงเครือ ๆ เบา ฟังไม่ชัด น้ำเสียงจะราบเรียบในระดับเดียวกันไม่มีเสียงสูงหรือต่ำ อาจมี
อาการกลืนลำบากร่วมด้วย
การเคลื่อนไหวของลำตัวและขาช้าลงก้าวขาสั้นแบบซอยเท้าใน
ช่วงแรก ๆ และต่อมาจะก้าวยาวขึ้นเรื่อย ๆ จนเร็วมากและหยุดทันทีทันใดไม่ได้หลังค่อม ตัวงอ และแขนไม่แกว่งมือจะแนบชิดตัว หรือ
เดินแข็งทื่อคล้ายหุ่นยนต์นอกจากนี้อาการของ Bradykinesiaยัง
รวมถึงอาการที่ผู้ป่วยรู้สึกอ่อนเพลีย แขนขาไม่มีแรงด้วย
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยกายภาพบำบัด
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก (Deep brain
stimulation
การผ่าตัดฝังขั้วไฟฟ้าแล้วปล่อย ไฟฟ้า
เข้าไปกระตุ้นสมอง
-การผ่าตัดสมองเพื่อปลูกถ่ายเนื้อเยื่อชนิดที่ผลิต
สารโดพามีนได้ (Neurotransplantation)