Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยว กับประสาทสมองและการรับรู้ - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยว
กับประสาทสมองและการรับรู้
ปลอกประสาทเสื่อมเเข็ง
หมายถึง
เป็นโรคที่มีการทำลายปลอกหุ้มเส้น
ประสาทในระบบประสาทส่วนกลาง
อาการมักเป็นกำเริบสลับทุเลา แต่ถ้าเป็นซ้ำๆหลายๆครั้งก็มักจะเหลือความพิการถาวรได้
อาการ
อายุ
พบมากสุดในช่วง ๒๐-๔๐ ปี :หญิงมากกว่าชาย
Relapsing remitting ระบบประสาทที่เป็นเร็ว แล้วไม่กี่วันก็มีอาการดีขึ้นใกล้เคียงปกติ แล้วกลับเป็นซ้ำ
Progressive ระบบประสาทค่อยเป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ ช้า ๆ ใช้เวลานานเป็นสัปดาห์ หรือเป็นเดือน
อาการอื่นๆ
เวียนศรีษะ
กลั้นปัสสาวะและอุจจาระไม่อยู่
ซึมเศร้า
สมองเสื่อม
Sensory system
การรับความรู้สึกลดลง
การรับความรู้สึกที่ข้อต่อว่าอยู่ที่ตำแหน่งใดลดลงอาจมาด้วยเดินเซโดยเฉพาะเมื่อให้ยืน แล้วหลับตาลง จะเซมากขึ้น
การรับรู้ความรู้สึกเปลี่ยนไป
Vision : การมองเห็น
ตามัว (visual loss): เป็นอาการแรกๆ ของโรคที่พบบ่อย, ตามัวมักจะมัวมากที่บริเวณกลางภาพก่อน ถ้าเป็นมากตาจะบอดได้
ตากระตุก (nystagmus)
การกลอกตาผิดปกติ: ผู้ป่วยจะมองเห็น ภาพซ้อน รูม่านตาผิดปกติ
กลุ่มสี่ยง
อายุ 30 ปีขึ้นไป
ผู้ป่วยเบาหวาน
ผู้ที่ทำงานพักผ่อนน้อย
ดื่มสุรา ดูดบุหรี่
ขาดวิตามิน บี 1,6,12,
การดูแล
กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ช่วยลดอาการชา อาการปวดได้
น้ำการอาบอุ่น ควบคุมน้ำหนัก คุมระดับน้ำตาลในเลือด
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ป้องกันการขาดวิตามิน
ลดการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์
ออกกำลังกาย
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวด
การผ่าตัด
การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า
ทำกายภาพบำบัด
ภาวะสมองเสื่อมและโรคอัลไซเมอร์
การวินิจฉัย
พูดไม่ถูก
ทำไม่เป็น
ไม่รู้จัก ไม่รู้เรื่อง
ความบกพร่องในเรื่องการบริหารจัดการ
Cognitive impairment
Memory ความจำ
Imagining จินตนาการ
Judgment การตัดสินใจ
Thinking ความคิด
Definition
ความผิดปกติบกพร่องทางด้านความจำ ความคิด และความสามารถของสมอง ซึ่งรุนแรงจนรบกวนการดำเนินชีวิตผู้ป่วย
สาเหตุ
Trauma
Vitamin deficiency
Infections
Toxins
Vascular dementia
Vasculitis
1.Degenerative change
Endocrine/Metabolic
Normal pressure hydrocephalus
Neoplasm
อาการ
นึกคำพูดได้ช้าลงสับสนเรื่องวัน เวลา สถานที่ หรือจำบุคคลที่เคยรู้จักหรือคุ้นเคยไม่ได้
อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว หวาดระแวง ซึมเศร้าเฉยเมย หรือบางรายอาจมีการเห็นภาพหลอน
ไม่สามารถเดินทางไปในสถานที่คุ้นเคย หรือไม่สามารถใช้อุปกรณ์ต่างๆ ได้ ทั้งที่ปกติใช้อยู่เป็นประจำ
การรักษาที่สามารถหายได้
โรคสมองเสื่อมที่เกิดจากเนื้องอกในสมองความผิดปกติของต่อมไทรอยด์
โรคติดเชื้อในสมองบางชนิด การขาดสารอาหารโดยเฉพาะ
วิตามินบี อุบัติเหตุที่ศีรษะ หรือการได้รับยาบางอย่าง
การใช้ยากล่อมประสาทเป็นประจำ
การดูแล
การให้ผู้ป่วยคงความสามารถไว้ให้นานที่สุด
ความจำ
ความสามารถสมอง
กิจวัตรประจำวัน
เฝ้าระวังเรื่องการหกล้ม
กระตุ้นฟื้นฟู 6 Domains
โรคพาร์กินสัน
ความหมาย
เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของสมองและระบบประสาทที่พบได้บ่อยเป็นอันดับที่ 2 รองจากโรคอัลไซเมอร์
สาเหตุ
เนื่องจากเซลล์สมองบริเวณส่วนลึกเบซอลแกงเกลีย และก้านสมองมิดเบรนในส่วนสับสแตนเชียไนกรามีความผิดปกติอย่างช้าๆ
มีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหวผิดปกติซึ่งเป็นอาการที่สำคัญของโรค
อาการ
1.อาการสั่นในขณะช่วงพัก
ส่วนใหญ่จะเกิดอาการสั่นขึ้นที่นิ้วมือก่อน
จะมีอาการสั่นมากเวลาที่อยู่นิ่ง ๆ
2.อาการที่ร่างกายมีสภาพแข็งเกร็ง
จะรู้สึกเหมือนมีแรงต้านหรือสะดุดเป็นจังหวะ ๆ คล้ายการเคลื่อนของฟันเฟือง
3.อาการเคลื่อนไหวร่างกายช้าลง
ผู้ป่วยจะมีใบหน้าแบบเฉยเมยไม่มีอารมณ์ ไม่ยิ้มหัวเราะ เหมือนคนใส่หน้ากาก
พูดเสียงเครือๆ น้ำเสียงจะราบเรียบในระดับเดียวกัน ไม่มีเสียงสูงหรือต่ำ อาจมีอาการกลืนลำบากร่วมด้วย
การเคลื่อนไหวของลำตัวและขาช้าลงก้าวขาสั้น ๆ แบบซอยเท้าในช่วงแรก ๆ และต่อมาจะก้าวยาวขึ้นเรื่อย ๆ
4.อาการของการทรงตัวขาด
ขณะที่ยืนช่วงลำตัวของผู้ป่วยจะเอนไปด้านหน้า
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยกายภาพบำบัด
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดฝังขั้วไฟฟ้าแล้วปล่อย ไฟฟ้าเข้าไปกระตุ้นสมอง
การผ่าตัดสมองเพื่อปลูกถ่ายเนื้อเยื่อชนิดที่ผลิตสารโดพามีนได้
การผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก
การดูแล
อุบัติเหตุ
กิจวัตรประจำวัน
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในแต่ละระยะของโรค
Guillian-Barre Syndrome
สาเหตุ
ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด แต่เชื่อว่าเป็น
ปฏิกิริยาแพ้ภูมิตัวเองของร่างกาย
การติดเชื้อ
การได้รับวัคซีน
การผ่าตัดและการวางยาสลบ
โรคนอกระบบประสาท
อาการ
อาการด้านประสาทรับความรู้สึก
อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงมัก
อาการลุกลามเส้นประสาทสมอง
การดำเนินโรค
ระยะเฉียบพลัน ( Acute phase )
2.ระยะอาการคงที่ Static phase ระยะนี้มักจะเป็นระยะเวลาสั้น ๆ 2 – 3 วัน
ระยะฟื้นตัว ( Recovery phase ) มักจะเริ่มจากโรคหยุดก้าวหน้า 2-3 สัปดาห์
การรักษา
Plasmapheresis
Intravenous immunoglobulin
Corticosteroid
ภาวะเเทรกซ้อน
Respiratory failure
Respiratory infection
3.ความพิการของร่างกาย
Mulnutrition
Urinary tract infection
Pressure sore
Psychiatic problem
การพยาบาล
การพยาบาลระยะวิกฤตภาวะอ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจ
ระบบกล้ามเนื้อ
ระบบการกลืน
ระบบการขับถ่าย
ไมแอสทีเนียกราวิส
สาเหตุ
เป็นโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย
เพศหญิง>เพศชาย สูงอายุ
Thymomas
อาการ
50% มาด้วยเห็นภาพซ้อน หรือหนังตาตก
15% มาด้วยอาการกลืนสำลัก เคี้ยวอาหารไม่ได้ หรือพูดเสียงเปลี่ยน
<5% อ่อนแรงต้นแขน หรือต้นขาอย่าง
การรักษา
ยา Mestinon
Thymectomy
การพยาบาล
การบริหารยา Mestinon