Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
การวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเตรียมและการใช้โปรแกรมสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเพื่อการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
การจัดทำไฟล์ข้อมูลสำหรับการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
ใช้โปรแกรม SPSS for windows
การกำหนดค่าตัวแปร
หน้าจอ Variable View กำหนดรายละอียดของตัวแปรแต่ละตัว
Data View ใช้ในการบันทึกข้อมูลที่ได้
การใช้คำสั่งทั่วไปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
การใช้คำสั่งเปลี่ยนแปลงข้อมูล
คำสั่ง Recode เพื่อเปลี่ยนค่าตัวแปร
คำสั่ง Compute เพื่อสร้างตัวแปรใหม่
ตำสัง่ Select cases เลือกข้อมูลมาวิเคราะห์
คำสั่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดูใน menu bar
การใช้คำสั่งในการวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือการวิจัย
ตรวจสอบความเขื่อถือได้ >> คำสั่ง Reliability
การวิเคราะห์ปัจจัย >> คำสั่ง Factor
การเตรียมข้อมูลการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
การตรวจสอบข้อมูล มีข้้นตอนคือ
การบรรณาธิกรณ์
การแยกประเภทข้อมูล
2.1 ลักษณะการแยกข้อมูล คือ 1) ตามคุณลักษณะ 2) ตามปริมาณ 3) ตามกาลเวลา
2.2 หลักการแยกประเภทข้อมูล คือ 1) แยกให้ตรงกับปัญหาและวัตถุประสงค์ 2) ข้อมูลต้องแยกประเภทได้ครบ 3) จัดข้อมูลให้อยู๋ประเภทเดียวเท่านั้น 4) ตัวแปรต่าง ๆ ต้องแยกประเภทจากกัน 5) ประเภทตัวแปรตามต้องขึ้นอยู่กับประเภทตัวแปรอิสระ 6) การแยกประเภทข้อมูลเชิงปริมาณต้องคำนึงถึงวิธีการกำหนดค่าพิสัยและความกว้างของอันตรภาคนั้นด้วย
การจัดทำรหัสข้อมูล
หลักการกำหนดรหัสข้อมูล ประกอบด้วย 1) ลำดับข้อคำถาม 2) ชื่อของตัวแปรที่เป็นข้อคำถาม 3) รหัสของคำตอบแต่ละข้อคำถาม
วิธีการกำหนดรหัสข้อมูล 1) การกำหนดรหัสสำหรับชื่อตัวแปร 2) หลักเกณฑ์การตั้งชื่อตัวแปร 3) การกำหนดรหัสสำหรับคำตอบ >> แบบนามมาตร แบบอันดับมาตร แบบช่วงมาตร แบบอัตราส่วนมาตร
หลักการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการพิจารณาในการเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สถิติพรรณนา
ข้อมูลเชิงคุณภาพ สถิติที่ใช้คือ ความถี่หรือจำนวน (frequency) ร้อยละ (percentage) และค่าฐานนิยม (mode)
ข้อมูลเขิงปริมาณ นอกจากความถี่และร้อยละแล้ว ยังใช้ในการวิเคราะห์หาค่ากลางและค่าการกระจายของข้อมูลด้วย
สถิติอนุมาน
การทดสอบเกี่ยวกับตัวแปร 1 ตัว
การทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว
การทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรหลายตัว
การทดสอบที่ไม่ใช้พารามิเตอร์หรือสถิตินอนพาราเมตริก
การเปรียบเทียบประเภทของสถิติแบบพาราเมตริกและนอนพาราเมตริก
การทดสอบสมมติฐานทางสถิติของการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สมมติฐานเพื่อการทดสอบ
สมมติฐานหลัก
สมมติฐานทางเลือก
การทดสอบสมมติฐาน
สมมติฐานทาเดียว
2.สมมติฐานสองทาง
ความคลาดเคลื่อน
ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1
ความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 2
ประเภทของข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ข้อมูลเชิงคุุณภาพ
ข้อมูลที่เป็นนามมาตร (nominal scale) แบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ ไม่สามารถบอกได้ว่ากลุ่มใดดีกว่าหรือมากกว่า เช่น เพศ อาชีพ ศาสนา
ข้อมูลที่เป็นอันดับมาตร (ordinal scale) แบ่งกลุ่มแบบเดียวกับนามมาตร แต่แสดงความแตกต่างระหว่างกลุ่มได้ เช่น ระดับการศึกษา ลำดับความชอบ
ข้อมูลเชิงปริมาณ
ข้อมูลที่เป็นช่วงมาตร (interval scale) บอกความแตกต่างออกมาเป็นตัวเลขได้ แต่ไม่ใช่ตัวเลขที่แท้จริง เข่น การวัดความรู้ ความคิดเห็น
ข้อมูลที่เป็นอัตราส่วนมาตร (ratio scale) เป็นตัวเลขที่แท้จริง เช่น อายุ รายได้ ขนาดพื้นที่
การนำเสนอข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิและกราฟ
แผนภูมิแท่ง
แผนภููมิวงกลม
กราฟเส้น
การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง
การนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์สถิติพรรณนา
การนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้ค่าความถี่และร้อยละเท่านั้น
การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้ค่าความถี่และร้อยละ และต้องนำเสนอค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุดด้วย
การนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์สถิติอนุมาน
การนำเสนอข้อมูลการเปรียบเทียบข้อมูล 1) การใช้สถิติ t-test 2) การใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance ANOVA)
การนำเสนอข้อมูลการหาความสัมพันธ์ของข้อมูล 1) การใช้สถิติการทดสอบไคสแควร์ (chi-square test) 2) การใช้สถิติการวิคราะห์สหสัมพันํธ์ 3) การใช้สถิติการถดถอยพหุ